Search results

5 results in 0.09s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านขั้นตอนการดำเนินงาน ด้านการวางระบบและแผนดำเนินงาน ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล และด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษาด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.673 (R = 0.673) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้ร้อยละ 45.2 (R^2= 0.452) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ 2) เพื่อศึกษาคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ และ 3) เพื่อศึกษาการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 59 โรงเรียน ผู้ให้ข้อมูลทั้งหมด 295 คน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียน หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ ครูผู้รับผิดชอบงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน และครูผู้สอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการวิเคราะห์ค่าสถิติพื้นฐาน ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ โดยใช้วิธีวิเคราะห์สมการถดถอยแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านขั้นตอนการดำเนินงาน ด้านการวางระบบและแผนดำเนินงาน ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล และด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษา ตามลำดับ 2) คุณภาพผู้เรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ โดยภาพรวม พบว่า อยู่ในระดับมาก โดยการจัดอันดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านผู้เรียนมีทักษะชีวิต ด้านผู้เรียนเป็นคนดี ด้านผู้เรียนมีความสามารถในการคิด และด้านผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตามลำดับ 3) การบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียน สังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 เรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านปรับปรุงและพัฒนาเป็นนวัตกรรมของสถานศึกษาด้านกำหนดทิศทางและกลยุทธ์ ด้านการนิเทศ กำกับติดตามและประเมินผล ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.673 (R = 0.673) ซึ่งตัวแปรทั้งสองร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของการบริหารระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดกรุงเทพมหานคร กลุ่มกรุงธนใต้ ได้ร้อยละ 45.2 (R^2= 0.452) สามารถเขียนแสดงความสัมพันธ์ในรูปสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
The objectives of the study were: 1) to study the administration of the student care system of the school administrators under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon Group, 2) to study the quality of students in schools under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon Group and, 3) to study the administration of the student care system of the school administrators that affect quality of students in schools under Bangkok Metropolis of southern Krungthon group. A sample was collected from 295 informants from 59 schools including director, leader of academic administration, teachers in charge of the student care and support system and teachers. The instrument used in this study was questionnaires. The statistics used in the analysis are frequency, percentage, mean, standard deviation, correlation coefficient, and multiple linear regression by stepwise regression. The results of the research ware as follows: 1) The administration of the student care system of the school administrators under Bangkok Metropolis of Southern Krungthon group was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low was that the direction and strategy, operational procedures,system planning and implementation plan, in-service monitoring and evaluation and improvement and development of school innovation respectively. 2) The quality of learners under Bangkok metropolis of southern Krungthon group was at a high level in overall. The ranging by the average from high to low was that the learner has life skills, the learner is good, the learner has the ability to think, and the learner has the ability to follow the curriculum respectively. 3) The administration of the student care system of school administrators Affecting to quality of students in schools under Bangkok Metropolis of southern Krungthon group was statistically significant at the 0.01 level. The most significant level was on improvement and development of school innovation, direction and strategy, supervision monitoring and evaluation was statistically significant at the 0.01 level and multiple correlation coefficient at 0.673 (R = 0.673) which can explain the variance of management of the student care and support system of school administrators under Bangkok metropolis of southern Krungthon group at 45.2% (R^2= 0.452). It can be written in predicting equations as follows: The predicting equation of raw score (Y) Y= 1.620 + 0.538 (x5) + 0.236 (x1) + -0.192 (x4) (R^2= 0.452) The predicting equation of standard score (Zy) Zy= 0.677 (x5) + 0.275 (x1) + -0.245 (x4) (R^2= 0.452)
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 336 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.96 เก็บข้อมูลในปีการศึกษา 2561 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการประสานงาน ด้านการประเมินผล และด้านการกำกับ การนิเทศ และการติดตาม ตามลำดับ 2. การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 6 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการส่งเสริมการช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน ด้านการส่งต่อนักเรียน ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการรายงานผล และด้านการคัดกรองจำแนกนักเรียน ตามลำดับ 3. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงตามความสำคัญ ได้แก่ ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย หรือ อำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 53.30 (R2 = 0.533) สามารถเขียนในรูปของสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้สมการคะแนนดิบ Y ̂= 2.4510+ 0.237 (ด้านการประเมินผล) + 0.221 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y=0.396 (ด้านการประเมินผล) + 0.357 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ 3) เพื่อศึกษาบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive Research) กลุ่มตัวอย่างได้แก่ สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 จำนวน 56 โรงเรียนโดยมีผู้ให้ข้อมูลทั้งสิ้น 336 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามซึ่งมีค่าความเชื่อมั่น 0.97 และ 0.96 เก็บข้อมูลในปีการศึกษา 2561 สถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอนโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปทางสถิติ ผลการวิจัยพบว่า 1. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1โดยภาพรวมทั้ง 4 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการบริหารจัดการ ด้านการประสานงาน ด้านการประเมินผล และด้านการกำกับ การนิเทศ และการติดตาม ตามลำดับ 2. การดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 1 โดยภาพรวมทั้ง 6 ด้าน มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านการส่งเสริมการช่วยเหลือและการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมนักเรียน ด้านการส่งเสริมพัฒนาผู้เรียน ด้านการส่งต่อนักเรียน ด้านการรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล ด้านการรายงานผล และด้านการคัดกรองจำแนกนักเรียน ตามลำดับ 3. บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยม ศึกษา เขต 1 ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ส่งผลต่อการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 เรียงตามความสำคัญ ได้แก่ ด้านการประเมินผล และ ด้านการกำกับ นิเทศและการติดตาม ตามลำดับ มีค่าสัมประสิทธิ์ในการทำนาย หรือ อำนาจพยากรณ์ ได้ร้อยละ 53.30 (R2 = 0.533) สามารถเขียนในรูปของสมการพยากรณ์ได้ ดังนี้สมการคะแนนดิบ Y ̂= 2.4510+ 0.237 (ด้านการประเมินผล) + 0.221 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y=0.396 (ด้านการประเมินผล) + 0.357 (ด้านการกำกับนิเทศและการติดตาม)
The Purposes of the research were: 1) to Study the roles of school administrators under Office of Secondary Educational Service Area 1, 2) to study the operation of student care and support systems in schools under Office of Secondary Educational Service Area 1, and 3) to study the roles of school administrators affecting the operation of student care and support system in schools under Office of Secondary Educational Service Area 1. The way researches the manner forecasts Predictive research Space The Samples Were 56 Schools Under The Secondary Educational Service Area Office 1, The data were collected by questionnaires from 336 respondents consisting The questionnaire is which be valuable 0.97 confidences and 0.96 collect data in 2561 academic statistics years that use for example The data were analyzed by frequency, percentage, mean, Standard Deviation, and, Stepwise multiple regression analysis statistics program. The Research Results Found That: 1. The Role of School Administrators Under The Secondary Educational Service Area Office 1 Was at hight Level Over all and in aspect When considering The Average value in Each aspect is at a high Level in all aspects By Sorting by Average from Highest to lowest, Management Coordination Evaluation and Supervision, Super vision and follow-up. 2. The Operation of Student care System in Schools Under the District office Secondary Education Was at a high level. When Considering the Average value in each aspect is at a high Level in all Aspects By Sorting According to The Average from the highest to the lowest, namely the promotion of help and solving student behavior problems In the Development of Learners For Students In Knowing Individual Students Reporting Results And The Screening of Student Classification. 3. The Role of School Administrators in Educational Institutions under the Office of Educational Service Area Were Evaluation and Supervision, Supervision and Follow-up Aespectively, with Predictive Coefficient or Predictive Power of 53.30 Percent (R 2 = 0.533) can be Written as Regression Analysis form as Follows. Raw score equation Y ̂ = 2.4510 + 0.237 (Evaluation) + 0.221 (Directing the new Territory. And Tracking ) Standard Score Equation Z ̂y = 0.396 (Evaluation) + 0.357 (A bundle of New York's Territory. And Tracking )
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ3) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลนักเรียนช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูแนะแนว และครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ดังนี้ อันดับแรก คือ ด้านการเป็นผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการจูงใจ ด้านการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม ด้านการตัดสินใจ ด้านการกำหนดเป้าหมาย ด้านการติดต่อสื่อสาร และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน และด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิผลต่อกัน 2. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ ดังนี้ ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการป้องกันช่วยเหลือและแก้ปัญหา ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริม และด้านการส่งต่อ 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ การตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความแปรปรวนของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ร้อยละ 29
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 2) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 และ3) เพื่อศึกษา พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหารที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลนักเรียนช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้อำนวยการสถานศึกษา รองผู้อำนวยการ สถานศึกษาหรือหัวหน้าฝ่ายที่เกี่ยวกับการดำเนินงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ครูแนะแนว และครูประจำชั้นหรือครูที่ปรึกษาในสถานศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 จำนวน 345 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร และการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน สำหรับสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยพหุคุณแบบขั้นตอน โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า: 1. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมาก 6 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อย ดังนี้ อันดับแรก คือ ด้านการเป็นผู้นำ รองลงมา คือ ด้านการจูงใจ ด้านการกำหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานและการฝึกอบรม ด้านการตัดสินใจ ด้านการกำหนดเป้าหมาย ด้านการติดต่อสื่อสาร และอยู่ในระดับปานกลาง 2 ด้าน ได้แก่ ด้านการควบคุมการปฏิบัติงาน และด้านการปฏิสัมพันธ์และการมีอิทธิผลต่อกัน 2. การบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 อยู่ในระดับมากทั้ง 5 ด้าน โดยเรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยมากไปน้อยได้ ดังนี้ ด้านการรู้จักนักเรียนรายบุคคล รองลงมา คือ ด้านการป้องกันช่วยเหลือและแก้ปัญหา ด้านการคัดกรองนักเรียน ด้านการส่งเสริม และด้านการส่งต่อ 3. พฤติกรรมการบริหารของผู้บริหาร สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ที่มีอิทธิพลมากที่สุด คือ การตัดสินใจ เป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และสามารถทำนายความแปรปรวนของการบริหารจัดการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 ได้ร้อยละ 29
The purpose of this research was 1) to study the management behavior of the executives. 2) To study the management of school attendance system in schools. Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1 and 3) to study the administrative behavior of the administrators affecting the administration of the student support system in the educational institution. The sample is the director of the school. Deputy Director 9Educational institutions or heads of departments involved in the implementation of student support systems, tutors, and classroom teachers, or school counselors. The questionnaire was administered to 345 administrators. And management of student support systems. The statistics used for data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation. And the multiple regression equation you step. Data were analyzed by using software program. The research found that: 1. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, When considering each side, it was found that. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the office of the Office of the Secondary Education Region 1, the level of education was at the high level of 6 levels and was at the medium level, 2 aspects were ranked from the average to the lowest. Performance Standards and Training Decision making Targeting Communication Operational control And the interaction and interaction. 2. Management of school attendance support system Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, When considering each side, it was found that. Management Behavior of Management Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Service Area 1, the level of education was at the high level of 5 levels, ranging from the average to the lowest. Student Screening Promotion And the transmission. 3. Management Behavior of Management The most influential factors influencing decision-making in school administration are the factors influencing the management of the school support system. The results of this study showed that the students' Under the jurisdiction of the Office of the Secondary Education Region 1, 29%