Search results

8 results in 0.11s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหายาเสพติดและแนวทางแก้ไข 2) ศึกษาหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหายาเสพติด 3) ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามหลักพุทธธรรม ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: ปัญหายาเสพติดให้โทษเป็นปัญหาใหญ่ และสำคัญมาก เป็นปัญหาที่แพร่ระบาดไปทุกชุมชน เมื่อคนตกเป็นทาสยาเสพติด ไม่ว่าจะชนิดใดก็ตาม ก็ย่อมจะผลเสียทั้งต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพ ตลอดจนเป็นปัญหาแก่สังคม เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาครอบครัวแตกแยก ปัญหาความปลอด ภัยในชีวิต และทรัพย์สิน องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญที่เอื้ออำนวยต่อการติดยาเสพติด ก็คือ ตัวบุคคล และสภาพแวดล้อม แนวทางในการแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงมุ่งเน้นไปที่ตัวบุคคล และการมีส่วนร่วมของครอบครัว หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรทางด้านพระพุทธศาสนา ในพระพุทธศาสนาถือว่าเจตนา คือ ความจงใจเป็นสิ่งที่จูงใจในการเสพยาเสพติด หลักพุทธธรรมเป็นหลักปฏิบัติอันเป็นระบบเพื่อให้มนุษย์ดำรงชีวิตอย่างมีระบบระเบียบ มีแบบแผนที่ดีงามสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข ที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ได้แก่ หลักอริยสัจ หลักสังคหวัตถุ 4 หลักฆราวาสธรรม 4 หลักพรหมวิหาร 4 หลักเบญจศีลเบญจธรรม หลักกตัญญูกตเวทิตา หลักกัลยาณมิตร หลักมิตรแท้มิตรเทียม หลักอริยสัจ 4 เป็นแนวทางเพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาของการติดยาเสพติด กล่าวคือ ทุกข์ คือการกำหนดให้รู้จักสภาพปัญหา อันเนื่องมาจากการติดยาเสพติด สมุทัย คือการกำหนดเหตุแห่งทุกข์ คือการเสพยาเสพติด นิโรธ คือการดับทุกข์ โดยกำหนดเป้า หมาย ที่ต้องการแก้ไขปัญหาจากการติดยาเสพติด มรรค เป็นการกำหนดแนวปฏิบัติที่จะนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด มรรคมีองค์ 8 ซึ่งสงเคราะห์เป็นหลักไตรสิกขา คืออธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา โดยเริ่มจากการฝึกหัดด้านอธิศีลสิกขาก่อน เพื่อให้ศีลเป็นบาทฐานในจิตใจ จนเกิดเป็นสมาธิในอธิจิตสิกขา และก็จบลงด้วยปัญญา กระบวนการหลักไตรสิกขานี้ เป็นการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหายาเสพติดและแนวทางแก้ไข 2) ศึกษาหลักพุทธธรรมที่เกี่ยวข้องในการแก้ไขปัญหายาเสพติด 3) ศึกษาวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติดตามหลักพุทธธรรม ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนตุลาคม 2560–มิถุนายน 2561 ผลการวิจัยพบว่า: ปัญหายาเสพติดให้โทษเป็นปัญหาใหญ่ และสำคัญมาก เป็นปัญหาที่แพร่ระบาดไปทุกชุมชน เมื่อคนตกเป็นทาสยาเสพติด ไม่ว่าจะชนิดใดก็ตาม ก็ย่อมจะผลเสียทั้งต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพ ตลอดจนเป็นปัญหาแก่สังคม เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหาครอบครัวแตกแยก ปัญหาความปลอด ภัยในชีวิต และทรัพย์สิน องค์ประกอบที่เป็นปัจจัยสำคัญที่เอื้ออำนวยต่อการติดยาเสพติด ก็คือ ตัวบุคคล และสภาพแวดล้อม แนวทางในการแก้ไขปัญหายาเสพติด จึงมุ่งเน้นไปที่ตัวบุคคล และการมีส่วนร่วมของครอบครัว หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรทางด้านพระพุทธศาสนา ในพระพุทธศาสนาถือว่าเจตนา คือ ความจงใจเป็นสิ่งที่จูงใจในการเสพยาเสพติด หลักพุทธธรรมเป็นหลักปฏิบัติอันเป็นระบบเพื่อให้มนุษย์ดำรงชีวิตอย่างมีระบบระเบียบ มีแบบแผนที่ดีงามสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างสันติสุข ที่เรียกว่า มัชฌิมาปฏิปทา หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหายาเสพติด ได้แก่ หลักอริยสัจ หลักสังคหวัตถุ 4 หลักฆราวาสธรรม 4 หลักพรหมวิหาร 4 หลักเบญจศีลเบญจธรรม หลักกตัญญูกตเวทิตา หลักกัลยาณมิตร หลักมิตรแท้มิตรเทียม หลักอริยสัจ 4 เป็นแนวทางเพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาของการติดยาเสพติด กล่าวคือ ทุกข์ คือการกำหนดให้รู้จักสภาพปัญหา อันเนื่องมาจากการติดยาเสพติด สมุทัย คือการกำหนดเหตุแห่งทุกข์ คือการเสพยาเสพติด นิโรธ คือการดับทุกข์ โดยกำหนดเป้า หมาย ที่ต้องการแก้ไขปัญหาจากการติดยาเสพติด มรรค เป็นการกำหนดแนวปฏิบัติที่จะนำไปใช้ในการแก้ไขปัญหายาเสพติด มรรคมีองค์ 8 ซึ่งสงเคราะห์เป็นหลักไตรสิกขา คืออธิศีลสิกขา อธิจิตสิกขา อธิปัญญาสิกขา โดยเริ่มจากการฝึกหัดด้านอธิศีลสิกขาก่อน เพื่อให้ศีลเป็นบาทฐานในจิตใจ จนเกิดเป็นสมาธิในอธิจิตสิกขา และก็จบลงด้วยปัญญา กระบวนการหลักไตรสิกขานี้ เป็นการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
The thesis served its specific purposes: 1) to study states of drug problems and solutions to drug problems, 2) to sort out key Buddhist teachings for tackling drug problems, and 3) to analyze solutions to drug problems. As the documentary research, it was derived from the qualitative methodology. Data were studied out of The Tipitaka, commentaries, books and relevant research undertakings, collected between October B.E. 2560 and June B.E. 2561. Findings are as follows:P Drug problems have been treated as mammoth and paramount setbacks; they have inflicted on drug addicts in every community. As such, falling prey to drugs of any types whatsoever have adverse effects to addicts’ physical and mental health. Still worst, drug addicts trigger such social problems as criminal offences, broken families, including life and asset securities. Elements treated as significant factors favourable to drug problems are individuals associated with environments. As a result, guidelines on solving them have to put the emphasis on individuals, families’ participations, government and private sectors, and Buddhist organizations. In Buddhism, volition is a motive of taking drugs. Key Buddhist teachings as a practical system of rules to let human beings retain social systems and orders of their life are called ‘Middle Way.’ Buddhist key teachings as guidelines on solutions to drug problems are: 1) Four Noble Truths, 2) Four Virtues for a Goo Household Life, 3) Four Sublime States of Mind, 4) Five Precepts and Five Ennobling Virtues, Qualities of being grateful persons, and Virtues for True Friends. Four Noble Truths brought into use as a guideline on analyzing states of drug problems have found: determining sufferings to perceive drug problems, determining causes of sufferings to realize states of drug problems, determining cessation of sufferings to set goals to solve drug problems, and determining the path leading to cessation of sufferings to act to solve them. In addition, the process of Noble Eightfold Path can be implemented to solve drug problems since they can be synthesized into threefold trainings - morality, concentration and wisdom. First and foremost to tackle the problems, the practice ought to begin with morality as the mental foundation. Then, observance of concentration must as a stepping stone to concentration that leads to wisdom at the end. With the process of threefold trainings, it is believed that drug problems can be somewhat alleviated.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2555
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญากับยาเสพติดให้โทษ ๒) เพื่อศึกษาการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชนในจังหวัดหนองคาย ๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธปรัชญากับการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชนในจังหวัดหนองคาย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ เอกสารกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด และสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชนในจังหวัดหนองคาย ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ยาเสพติดให้โทษ ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็น มัชชะ เป็นของมึนเมา บัญญัติไว้ในหลักธรรมศีล ๕ การเสพยาเสพติดให้โทษเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท เป็นมูลแห่งอกุศลธรรมทั้งหลาย ก่อให้เกิดทุกข์ และเป็นมูลเหตุแห่งอาชญากรรมหลายชนิด หลักพุทธปรัชญากับการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชน ให้ความสำคัญกับการพัฒนาด้านจิตใจของเด็กและเยาวชน ให้มีสติ เกิดปัญญา นำไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษ ประกอบด้วยหลักพุทธปรัชญาเพื่อการเรียนรู้ ได้แก่ หลักอริยสัจ ๔ และหลักปฏิจจสมุปบาท หลักพุทธปรัชญาเพื่อการป้องกัน ได้แก่ หลักอบายมุข ๖, หลักทิศ ๖, หลักมิตรแท้มิตรเทียม, หลักหิริโอตตัปปะ และหลักโยนิโสมนสิการ เมื่อนำหลักพุทธปรัชญาเหล่านี้มาแก้ไขปัญหา เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ถึงเหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหายาเสพติดให้โทษ สำรวมอายตนะให้ห่างไกลจากยาเสพติดให้โทษ เห็นโทษและพิษภัยของยาเสพติดให้โทษ ปลูกฝังค่านิยมที่ดี และความประพฤติที่ดี ช่วยให้เด็กและเยาวชนเกิดความละอายใจ มีวิจารณญาณที่ดี ในการตัดสินใจให้ห่างไกลจากปัญหายาเสพติดให้โทษได้
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญากับยาเสพติดให้โทษ ๒) เพื่อศึกษาการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชนในจังหวัดหนองคาย ๓) เพื่อศึกษาวิเคราะห์หลักพุทธปรัชญากับการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชนในจังหวัดหนองคาย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยศึกษาค้นคว้าจากเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก พระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ เอกสารกฎหมายเกี่ยวกับยาเสพติด และสัมภาษณ์บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชนในจังหวัดหนองคาย ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: ยาเสพติดให้โทษ ในทางพระพุทธศาสนาถือว่าเป็น มัชชะ เป็นของมึนเมา บัญญัติไว้ในหลักธรรมศีล ๕ การเสพยาเสพติดให้โทษเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท เป็นมูลแห่งอกุศลธรรมทั้งหลาย ก่อให้เกิดทุกข์ และเป็นมูลเหตุแห่งอาชญากรรมหลายชนิด หลักพุทธปรัชญากับการแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษของเด็กและเยาวชน ให้ความสำคัญกับการพัฒนาด้านจิตใจของเด็กและเยาวชน ให้มีสติ เกิดปัญญา นำไปสู่การปฏิบัติที่ถูกต้อง เพื่อแก้ไขปัญหายาเสพติดให้โทษ ประกอบด้วยหลักพุทธปรัชญาเพื่อการเรียนรู้ ได้แก่ หลักอริยสัจ ๔ และหลักปฏิจจสมุปบาท หลักพุทธปรัชญาเพื่อการป้องกัน ได้แก่ หลักอบายมุข ๖, หลักทิศ ๖, หลักมิตรแท้มิตรเทียม, หลักหิริโอตตัปปะ และหลักโยนิโสมนสิการ เมื่อนำหลักพุทธปรัชญาเหล่านี้มาแก้ไขปัญหา เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ถึงเหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหายาเสพติดให้โทษ สำรวมอายตนะให้ห่างไกลจากยาเสพติดให้โทษ เห็นโทษและพิษภัยของยาเสพติดให้โทษ ปลูกฝังค่านิยมที่ดี และความประพฤติที่ดี ช่วยให้เด็กและเยาวชนเกิดความละอายใจ มีวิจารณญาณที่ดี ในการตัดสินใจให้ห่างไกลจากปัญหายาเสพติดให้โทษได้
The research has the objectives to study: 1) Buddhist principles and narcotics, 2) the methods to resolve narcotic problem of juveniles in Nongkhai province, 3) the analytical study of Buddhist principles to resolve narcotic problem in Nongkhai province. This research is qualitative research, and the researcher collected the information from various sources such as Buddhist scriptures, Narcotic Act, related laws with the narcotics and interviewed the people concerned with narcotic problem resolution in Nongkhai province. The researcher analyzed the document by inductive methodology. The results of research were found that: The narcotics in Buddhism is intoxicants in the five precepts. It causes the carelessness and unconsciousness. It is also the evil deed causing the suffering and criminal cases. Buddhist principles to resolve the narcotic problem emphasized on mind development consisting with consciousness that will lead to right performance. Buddhist principle to resolve narcotic problem such as the four noble truth, law of dependent origination. Buddhist principles to prevent narcotic problem consist of six vicious, six directions in Buddhism, true friend and false friend, shame and consciousness, and critical reflection. While applying Buddhist principles to solve the narcotic problem with juvenile, it led them to know the causes that motivated them to be addicted. Also, Buddhist principles led the juvenile to be ashamed and know the danger of narcotic.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,วิทยานิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557