Search results

3 results in 0.05s

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาทของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 8 รูป ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาทคือ หลักจักรวรรดิวัตร 12หลักมหาโคปาล 11 ทศพิธราชธรรม 10 กัลยาณมิตร 7 สัปปุริสธรรม 7จักรวรรดิวัตร 5 เวสารัชชกรณธรรม 5สังคหวัตถุ 4 และอิทธิบาท 4 ภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครอง ด้านการศึกษาด้านสาธารณะสงเคราะห์ด้านสาธารณูปการด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านการเผยแผ่ มีหลักการ คือ ยึดพระธรรมวินัย ส่งเสริม สนับสนุน รักษา อุปถัมภ์ มีพรหมวิหาร เผยแผ่ธรรมวินัย เกื้อกูลสังคม หลักธรรม คือ มีพระธรรมวินัย ศีล สัปปุริสธรรมอปริหานิยธรรมพรหมวิหาร อิทธบาท สันโดษ ธรรมกถึก วิธีการ คือ ทำตนให้เป็นแบบอย่างเป็นที่พึ่งของคนอื่นไม่ทำเกินกำลัง สร้างปัญญาให้สังคม ยึดทางสายกลาง ทำให้ต่อเนื่อง และรู้จักสอน หลักการพัฒนาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครองด้วยการยึดพระธรรมวินัยด้านศาสนศึกษาด้วยการส่งเสริมการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงรุก ด้านการเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติและทำกิจกรรม ด้านสาธารณูปการด้วยการรักษาเอกลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนา และด้านสาธารณสงเคราะห์ด้วยการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจด้วยหลักธรรมวินัย
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์1)เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเพื่อการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม และ 3) เพื่อวิเคราะห์หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธปรัชญาเถรวาทของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม ข้อมูลเอกสาร ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราเอกสารที่เกี่ยวข้องและการสัมภาษณ์เชิงลึกจากเจ้าคณะอำเภอทุกอำเภอในจังหวัดมหาสารคาม จำนวน 8 รูป ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า: หลักการพัฒนาภาวะผู้นำในพุทธศาสนาเถรวาทคือ หลักจักรวรรดิวัตร 12หลักมหาโคปาล 11 ทศพิธราชธรรม 10 กัลยาณมิตร 7 สัปปุริสธรรม 7จักรวรรดิวัตร 5 เวสารัชชกรณธรรม 5สังคหวัตถุ 4 และอิทธิบาท 4 ภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครอง ด้านการศึกษาด้านสาธารณะสงเคราะห์ด้านสาธารณูปการด้านศึกษาสงเคราะห์ และด้านการเผยแผ่ มีหลักการ คือ ยึดพระธรรมวินัย ส่งเสริม สนับสนุน รักษา อุปถัมภ์ มีพรหมวิหาร เผยแผ่ธรรมวินัย เกื้อกูลสังคม หลักธรรม คือ มีพระธรรมวินัย ศีล สัปปุริสธรรมอปริหานิยธรรมพรหมวิหาร อิทธบาท สันโดษ ธรรมกถึก วิธีการ คือ ทำตนให้เป็นแบบอย่างเป็นที่พึ่งของคนอื่นไม่ทำเกินกำลัง สร้างปัญญาให้สังคม ยึดทางสายกลาง ทำให้ต่อเนื่อง และรู้จักสอน หลักการพัฒนาภาวะผู้นำของเจ้าคณะอำเภอในจังหวัดมหาสารคามด้านการปกครองด้วยการยึดพระธรรมวินัยด้านศาสนศึกษาด้วยการส่งเสริมการศึกษา ด้านศึกษาสงเคราะห์ด้วยวิธีการเชิงรุก ด้านการเผยแผ่ด้วยการปฏิบัติและทำกิจกรรม ด้านสาธารณูปการด้วยการรักษาเอกลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนา และด้านสาธารณสงเคราะห์ด้วยการพัฒนาวัตถุ และพัฒนาจิตใจด้วยหลักธรรมวินัย
The objectives of this thesis are: 1) to study the principles of leadership development in Theravada Buddhism 2) to study the leadership of the district primates in Mahasarakham Province and 3) to analyze the principles’ leadership development in Theravada Buddhist Philosophy of the district primates in Mahasarakham Province. The document and information are Tripitaka, commentary, related textbooks, data and the in-depth interviews from all 8 district primates. The received data were content analysis and an analysis of inductive conclusion’s structure. The results of research were found that: The principles of leadership development in Theravada Buddhism are as follows: the Empire 12, MahaKopal 11, Dharma of the King 10, True Friends 7, Sappurisadharmma 7, Empire 5, Wasadatchakondharm 5, Sangkhawang 4 and Itthibat 4. The leadership of the district primates in Mahasarakham province are in government, education, public welfare, public assistance, education welfare and propagation. The principles are following the Dharma discipline, stimulating, supporting, securing, patronizing, subliming states of mind, propagation Dharma disciplines and supportingsociety.Dharma principles are having Dharma disciplines, canon, Suppurisadharm, Apirihaniyadharm, Brahma 4, Achievement, and Monastic. Means are good behaviors for reliability, not overloading, creation of wisdom for society, being in the middle path, being continuous and khowing how to teach Dharma. Principles in leadership development of the district primates in Mahasarakham Province are in governmental aspect by following the Dharma disciplines. In religious study, they support the education. In education welfare, they follow the proactive approach. In propagation the religion, they do activities. In public assistance, they maintain identity as the Buddhists and in public welfare, they develop mind and objects for the public
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นำ 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำชนเผ่าปะโอในรัฐฉาน ประเทศเมียนม่าร์ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำชนเผ่าปะโอ ในรัฐฉาน ประเทศเมียนม่าร์ วิทยานิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) ศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์ประกอบผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับชนเผ่าปะโอจำนวน 8 คนเพื่อนำมาวิเคราะห์แล้วสรุปผลการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นำจะต้องมีคุณสมบัติและพฤติกรรมเป็นแบบอย่างในการสื่อสารอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมีวุฒิภาวะ การเสริมสร้างความสัมพันธ์ เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร โดยนำหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ไปบูรณาการ เพื่อความสมบูรณ์ของทฤษฎีภาวะผู้นำ หลักธรรมประกอบด้วย ทิฎฐธัมมิกัตถะประโยชน์ สัปปุริสธรรม 7 พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 อคติ 4 เบญจศีลและเบญจธรรม อปริหานิยธรรม 7 ทศพิธราชธรรม 10 และจักรวรรดิธรรม 12 2. ชนเผ่าปะโอก็คือเป็น Pyu มีหลักฐานตั้งถิ่นก่อน ค.ศ.600 มาจากบริเวณตอนใต้ประเทศมองโกเลียลงมาทางใต้ประเทศเมียนม่าร์ หลังจากได้พ่ายแพ้สงครามและชนเผ่าปะโอได้สร้างเมืองใหม่ชื่อว่าหม่อท่อผาเมืองสะถุ่งใหม่ปัจจุบันคือเมืองสี่แสงการเกิดของขบวนการต่อสู้ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้รวบรวมชาวปะโอจำนวนหนึ่งในการปกครองประเทศราช (ระบบศักดินา) การเก็บส่วยภาษีอากรทุกอย่างจากประชาชนที่การต่อสู้ทางการเมืองและเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ และองค์การแห่งชาติปะโอกับ สาธารณรัฐประชาชาติปะโอ มีการเจรจาข้อตกลงการหยุดยิงและเป็นวันการปฏิวัติล้มล้างและทำสัญญาสันติภาพเข้าอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญของรัฐบาลกลางและวิถีทางการเมืองการปกครองใน 3 อำเภอ ได้แก่ระบบประชาธิปไตย ระบบสังคมนิยมและระบบคอมมิวนิสต์ได้ดำเนินกิจกรรมประสบความสำเร็จผู้นำชนเผ่าปะโอได้แสดงบทบาทภาวะผู้นำด้านการเมืองสังคมและเศรษฐกิจมาจนถึงปัจจุบัน 3. ผลการวิเคราะห์ภาวะผู้นำด้านการปกครอง ผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอ ได้ใช้หลักทศพิธราชธรรม ในการรวบร่วมกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอให้เป็นหนึ่งเดียว ภาวะผู้นำด้านสังคมผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอได้ใช้หลักเบญจศีลและเบญจธรรม ในการสงเสริม เพื่อความเป็นปึกแผ่นของสังคมแบบจารีตและเพื่อสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมอันเป็นมรดกของชนเผ่าปะโอ ภาวะผู้นำด้านเศรษฐกิจผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอได้ใช้หลักทิฎฐธัมมิกัตถะประโยชน์ ในการพัฒนาเศรษฐกิจได้สงเสริมการเกษตรโดยนำศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนในการผลิตอย่างสมดุลเพื่อยกระดับคุณภาพชิวิติของชนเผ่าปะโอ จนถึงปัจจุบัน
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นำ 2) เพื่อศึกษาภาวะผู้นำชนเผ่าปะโอในรัฐฉาน ประเทศเมียนม่าร์ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ภาวะผู้นำชนเผ่าปะโอ ในรัฐฉาน ประเทศเมียนม่าร์ วิทยานิพนธ์นี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Quantitative Research) ศึกษาจากเอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและสัมภาษณ์ประกอบผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับชนเผ่าปะโอจำนวน 8 คนเพื่อนำมาวิเคราะห์แล้วสรุปผลการวิเคราะห์เชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวคิดทฤษฎีภาวะผู้นำจะต้องมีคุณสมบัติและพฤติกรรมเป็นแบบอย่างในการสื่อสารอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพมีวุฒิภาวะ การเสริมสร้างความสัมพันธ์ เพื่อบรรลุเป้าหมายขององค์กร โดยนำหลักธรรมในพระพุทธศาสนา ไปบูรณาการ เพื่อความสมบูรณ์ของทฤษฎีภาวะผู้นำ หลักธรรมประกอบด้วย ทิฎฐธัมมิกัตถะประโยชน์ สัปปุริสธรรม 7 พรหมวิหาร 4 สังคหวัตถุ 4 อคติ 4 เบญจศีลและเบญจธรรม อปริหานิยธรรม 7 ทศพิธราชธรรม 10 และจักรวรรดิธรรม 12 2. ชนเผ่าปะโอก็คือเป็น Pyu มีหลักฐานตั้งถิ่นก่อน ค.ศ.600 มาจากบริเวณตอนใต้ประเทศมองโกเลียลงมาทางใต้ประเทศเมียนม่าร์ หลังจากได้พ่ายแพ้สงครามและชนเผ่าปะโอได้สร้างเมืองใหม่ชื่อว่าหม่อท่อผาเมืองสะถุ่งใหม่ปัจจุบันคือเมืองสี่แสงการเกิดของขบวนการต่อสู้ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้รวบรวมชาวปะโอจำนวนหนึ่งในการปกครองประเทศราช (ระบบศักดินา) การเก็บส่วยภาษีอากรทุกอย่างจากประชาชนที่การต่อสู้ทางการเมืองและเรียกร้องสิทธิต่าง ๆ และองค์การแห่งชาติปะโอกับ สาธารณรัฐประชาชาติปะโอ มีการเจรจาข้อตกลงการหยุดยิงและเป็นวันการปฏิวัติล้มล้างและทำสัญญาสันติภาพเข้าอยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญของรัฐบาลกลางและวิถีทางการเมืองการปกครองใน 3 อำเภอ ได้แก่ระบบประชาธิปไตย ระบบสังคมนิยมและระบบคอมมิวนิสต์ได้ดำเนินกิจกรรมประสบความสำเร็จผู้นำชนเผ่าปะโอได้แสดงบทบาทภาวะผู้นำด้านการเมืองสังคมและเศรษฐกิจมาจนถึงปัจจุบัน 3. ผลการวิเคราะห์ภาวะผู้นำด้านการปกครอง ผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอ ได้ใช้หลักทศพิธราชธรรม ในการรวบร่วมกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอให้เป็นหนึ่งเดียว ภาวะผู้นำด้านสังคมผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอได้ใช้หลักเบญจศีลและเบญจธรรม ในการสงเสริม เพื่อความเป็นปึกแผ่นของสังคมแบบจารีตและเพื่อสืบสานประเพณีและวัฒนธรรมอันเป็นมรดกของชนเผ่าปะโอ ภาวะผู้นำด้านเศรษฐกิจผู้นำกลุ่มชาติพันธุ์ปะโอได้ใช้หลักทิฎฐธัมมิกัตถะประโยชน์ ในการพัฒนาเศรษฐกิจได้สงเสริมการเกษตรโดยนำศาสตร์และเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนในการผลิตอย่างสมดุลเพื่อยกระดับคุณภาพชิวิติของชนเผ่าปะโอ จนถึงปัจจุบัน
This thesis aims to: 1) to study the concept of leadership theory, 2) to study the concept of Pa Oh tribal leadership in Shan State of Myanmar, and 3) to study and analyze the leadership of the Pa Oh tribe in Shan State of Myanmar. The data of this qualitative study were collected from documents, articles, related research, and in-depth interviews with 8 key informants involving in the Pa Oh tribe, and then analyzed and presented by a descriptive method. The research results were found that 1. In leadership theory and concepts, leadership should be composed of qualifications and behaviors in systematic and effective communication, maturity and creation of relationship for the achievement of the organization. The leadership could be integrated with the Buddhist teachings for its accomplishment. The Buddhist teachings consist of Ditthadhammikattha, Sappurisadhamma, Brahmavihara Dhamma. Sanghahavatthu Dhamma, Agati, The Five Precepts and The Five Virtues, Aparihaniya Dhamma, Dasarajadhamma, and Cakkavatti Dhamma. 2. The Pa Oh tribe was Pyu having settled down in the southern region of Mongolia before AD 600, and moved down to Myanmar. Defeated in the war, the Pa Oh tribe built a new town called Mor Tho Pha Muang Tha Ton or Hsi Hseng nowadays. During World War 2, there was a movement and the gathering of a large number of Pa Oh people to rule the country in Feudal system and taxation was collected from the people who fought in politics, claimed for their rights, and The Pa Oh National Organization and The Pa Oh Nation Republic. There was an agreement for ceased fire, revolution day, and peace agreement in 3 districts under the constitution of the central government and the political and administrative means: democracy, socialism, and communism. The leaders of Pa Oh tribe expressed their leadership in politics, society, and economics and that has been successful from the past to present. 3. In government leadership, the leaders of Pa Oh tribe could unite Pa Oh people by using Dasarajadhamma. In social leadership, the leaders of Pa Oh tribe applied the principles of the Five Precepts and the Five Virtues in preserving and continuing tradition and culture of the Pa Oh tribe. In economic leadership, the leaders of Pa Oh tribe applied the principles of Ditthadhammakattha in economic, and agriculture development, and implemented the modern technology to increase the products and reduce cost, and to improve the quality of life of Pa Oh people.
หนังสือ

    งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการพัฒนาบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 20 คน ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือ การวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้างวิเคราะห์ข้อมูลจาก เนื้อหา บทสัมภาษณ์ และทฤษฎีต่าง ๆ ผลการวิจัยพบว่า 1.สภาพบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานครผู้นำชุมชนมีบทบาท ถือได้ว่าเป็นบุคคลที่สำคัญ มีความคิด ความสามารถ มีความรู้ เพื่อมาวางแผน กำหนดนโยบาย โดยประสานทุกฝ่ายให้มีส่วนร่วมที่จะนำทรัพยากรในชุมชนเป็นความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม ความมีสภาวะผู้นำต้องมีความซื่อสัตย์ มีความยุติธรรม มีความรับผิดชอบ นำสิ่งที่ถูกที่ควร สอดคล้องกับค่านิยมและความคาดหวังของชุมชน 2.การใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการพัฒนาบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร หนองจอกเป็นพื้นที่มีผู้นำชุมชนมากที่สุดของกรุงเทพมหานคร พรหมวิหาร 4 เป็นหลักธรรมสำหรับผู้นำที่ต้องรู้เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับบทบาทผู้นำชุมชนด้านเมตตา ความรัก กรุณา มุทิตา, อุเบกขา ช่วยเหลือผู้ที่ด้อยกว่า ยินดีปราศจากไม่อิจฉา ความเที่ยงธรรม 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการพัฒนาบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ผู้นำชุมชนเป็นคณะดำเนินการงานที่ต้องดูแลผลประโยชน์ของชุมชน จำเป็นต้องนำหลักธรรมของผู้นำโดยเฉพาะพรหมวิหาร 4 ให้มีความรู้ มีธรรม เป็นภาคภูมิกับหน้าที่ที่รับผิดชอบ โดยวิธีต่าง ๆ ที่เหมะสม
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการพัฒนาบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่าง 20 คน ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือ การวิจัย คือ แบบสัมภาษณ์ แบบมีโครงสร้างวิเคราะห์ข้อมูลจาก เนื้อหา บทสัมภาษณ์ และทฤษฎีต่าง ๆ ผลการวิจัยพบว่า 1.สภาพบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานครผู้นำชุมชนมีบทบาท ถือได้ว่าเป็นบุคคลที่สำคัญ มีความคิด ความสามารถ มีความรู้ เพื่อมาวางแผน กำหนดนโยบาย โดยประสานทุกฝ่ายให้มีส่วนร่วมที่จะนำทรัพยากรในชุมชนเป็นความรับผิดชอบในการทำกิจกรรม ความมีสภาวะผู้นำต้องมีความซื่อสัตย์ มีความยุติธรรม มีความรับผิดชอบ นำสิ่งที่ถูกที่ควร สอดคล้องกับค่านิยมและความคาดหวังของชุมชน 2.การใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการพัฒนาบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร หนองจอกเป็นพื้นที่มีผู้นำชุมชนมากที่สุดของกรุงเทพมหานคร พรหมวิหาร 4 เป็นหลักธรรมสำหรับผู้นำที่ต้องรู้เพื่อนำมาประยุกต์ใช้กับบทบาทผู้นำชุมชนด้านเมตตา ความรัก กรุณา มุทิตา, อุเบกขา ช่วยเหลือผู้ที่ด้อยกว่า ยินดีปราศจากไม่อิจฉา ความเที่ยงธรรม 3.เพื่อเสนอแนะแนวทางการใช้หลักพรหมวิหาร 4 ในการพัฒนาบทบาทผู้นำชุมชน เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร ผู้นำชุมชนเป็นคณะดำเนินการงานที่ต้องดูแลผลประโยชน์ของชุมชน จำเป็นต้องนำหลักธรรมของผู้นำโดยเฉพาะพรหมวิหาร 4 ให้มีความรู้ มีธรรม เป็นภาคภูมิกับหน้าที่ที่รับผิดชอบ โดยวิธีต่าง ๆ ที่เหมะสม
The objective of this research was to study the application of Brahmaviharadhamma in community leader’s role development in Nong Chok district of Bangkok. The data of this qualitative research were collected from 20 samples by patterned interview form, and then analyzed by content analysis. The results of the study were found that: 1. The state of community leaders’ role in Nong Chok district, the community leaders are significant, responsible, sincere, honest, and have knowledge and ability in planning, policy setting, and cooperating with people in work and activity in consistency with community value and expectation. 2. The application of Brahmaviharadhamma in development of community leader’s role, Nong Chok district area has a number of community leaders the most in Bangkok. It is necessary for the community leaders to apply the principles of Loving-kindness, Compassion, Sympathetic Joy, and Equanimity in Brahmavihara Dhamma in their duty performance. 3. A suggestion for application of Brahmaviharadhamma, the community leaders have to take care of the advantages of people and give services to people, so they must apply the principles of Brahmaviharadhamma in their duty performance appropriately.