Search results

9 results in 0.07s

หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ความศรัทธาของคนไทย 2) เพื่อศึกษาศรัทธาตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์ปรากฏการณ์ความศรัทธาของคนไทยตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า: 1) ปรากฏการณ์ความศรัทธาหรือความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาของคนไทยมีรากฐานมาจาก เชื่อผี เชื่อบรรพบุรุษ เชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชื่อเทพเจ้า นอกจากนี้ยังมีความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ การผสมผสานความเชื่อโดยขาดความรู้ความเข้าใจในหลักการของศรัทธา ทำให้ความเชื่อต่อศาสนาเคลื่อนออกห่างจากหลักศรัทธาตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ส่งผลให้เกิดความงมงายเชื่อทุกอย่างที่พึ่งพาหาประโยชน์ได้ บางครั้งก็ตกเป็นเครื่องมือของศรัทธา เพราะเป็นศรัทธาที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา 2) กระบวนการเกิดศรัทธาในพระพุทธศาสนาสามารถจำแนกได้ 3 ระดับ เรียงโดยลำดับได้ดังนี้ (1) ระดับการเข้าสู่ศรัทธาในเบื้องต้นโดยใช้หลักโยนิโสมนสิการชี้วัดข้อเท็จจริงมีปรากฏในเกสปุตตสูตร (2) ระดับการใช้เหตุผลโดยใช้หลักตรรกะชี้วัดข้อเท็จจริงมีปรากฏในอริยสัจจ์ 4 และ (3) ระดับปัญญาโดยใช้หลักไตรสิกขาฝึกอบรมพัฒนาจิตเพื่อให้เกิดความรู้ที่ถูกต้องมีปรากฏในศรัทธา 4 3) ปรากฏการณ์ความศรัทธาของคนไทยจำแนกตามความเชื่อได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ ศรัทธาในการรักษาโรค ศรัทธาในความสุข ศรัทธาในด้านความรัก และศรัทธาในเรื่องของกรรม สามารถนำมา ศึกษา วิเคราะห์ ตามหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท สรุปได้ดังนี้ ด้านการรักษาโรคใช้หลักอริยสัจจ์ 4 ด้านความสุขใช้หลักสุขของคฤหัสถ์ สุขของบรรพชิต ด้านความรักใช้หลักสมชีวิธรรม ฆราวาสธรรม พรหมวิหารธรรม กรรมใช้หลักศรัทธา 4
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ความศรัทธาของคนไทย 2) เพื่อศึกษาศรัทธาตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์ปรากฏการณ์ความศรัทธาของคนไทยตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาทเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบเอกสาร ซึ่งศึกษาข้อมูลจากพระไตรปิฎก อรรถกถา ตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า: 1) ปรากฏการณ์ความศรัทธาหรือความเชื่อเกี่ยวกับศาสนาของคนไทยมีรากฐานมาจาก เชื่อผี เชื่อบรรพบุรุษ เชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เชื่อเทพเจ้า นอกจากนี้ยังมีความเชื่อเรื่องไสยศาสตร์ การผสมผสานความเชื่อโดยขาดความรู้ความเข้าใจในหลักการของศรัทธา ทำให้ความเชื่อต่อศาสนาเคลื่อนออกห่างจากหลักศรัทธาตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ส่งผลให้เกิดความงมงายเชื่อทุกอย่างที่พึ่งพาหาประโยชน์ได้ บางครั้งก็ตกเป็นเครื่องมือของศรัทธา เพราะเป็นศรัทธาที่ไม่ประกอบด้วยปัญญา 2) กระบวนการเกิดศรัทธาในพระพุทธศาสนาสามารถจำแนกได้ 3 ระดับ เรียงโดยลำดับได้ดังนี้ (1) ระดับการเข้าสู่ศรัทธาในเบื้องต้นโดยใช้หลักโยนิโสมนสิการชี้วัดข้อเท็จจริงมีปรากฏในเกสปุตตสูตร (2) ระดับการใช้เหตุผลโดยใช้หลักตรรกะชี้วัดข้อเท็จจริงมีปรากฏในอริยสัจจ์ 4 และ (3) ระดับปัญญาโดยใช้หลักไตรสิกขาฝึกอบรมพัฒนาจิตเพื่อให้เกิดความรู้ที่ถูกต้องมีปรากฏในศรัทธา 4 3) ปรากฏการณ์ความศรัทธาของคนไทยจำแนกตามความเชื่อได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ ศรัทธาในการรักษาโรค ศรัทธาในความสุข ศรัทธาในด้านความรัก และศรัทธาในเรื่องของกรรม สามารถนำมา ศึกษา วิเคราะห์ ตามหลักธรรมในพุทธปรัชญาเถรวาท สรุปได้ดังนี้ ด้านการรักษาโรคใช้หลักอริยสัจจ์ 4 ด้านความสุขใช้หลักสุขของคฤหัสถ์ สุขของบรรพชิต ด้านความรักใช้หลักสมชีวิธรรม ฆราวาสธรรม พรหมวิหารธรรม กรรมใช้หลักศรัทธา 4
The objectives of this thesis are: 1) to study the phenomena of faith of Thai people, 2) to study faith in Theravada Buddhist philosophy, and 3) to analyze the phenomena of faith of Thais in accordance with Theravada Buddhist philosophy. It is a documentary qualitative study which the data from the Tipitaka, Commentaries, textbooks and related research works. The results of the study were shown as follows: 1) The faith phenomena or the faith in religion of Thai people were originated from the belief in ghosts, ancestors, sacred objects, deity, and occultism without the understanding of faith principles. Those beliefs weakened and moved far away from the faith principles in Theravada philosophy. That resulted to the blind faith and sometimes became the tool of faith without wisdom. 2) The process of faith in Buddhism could be divided into 3 levels as follows; (1) Fundamental faith based on Yonisomanasikara as specified in Kesaputta Sutta, (2) Reasoning faith based on logic principles as mentioned in the Four Noble Truths, and (3) Intellectual faith based on the principles of Threefold Training as appeared in the 4 principles of Saddha. 3) The faith phenomena of Thai people could be classified into 4 groups; the faith in disease healing and curing, the faith in happiness, the faith in love, and the faith in Kamma. When it was brought to study and analyze according to the principles of Theravada Buddhist philosophy, it could be concluded that; the faith in disease healing and curing was based on the principles of the Four Noble Truths, the faith in love based on the principles of house-life happiness and chaste life happiness, the faith in love based on Samajivita Dhamma, Gharavasa Dhamma, and brahmavihara Dhamma, and the faith in Kamma based on the 4 principles of Saddha.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • บทที่ 1 บทนำ - บทที่ 2 ศรัทธา
  • บทที่ 3 ปัญญา
  • บทที่ 4 ความสัมพันธ์ระหว่างศรัทธากับปัญญา
  • บทที่ 5 บทสรุป วิเคราะห์ วิจารณ์
หนังสือ

    View TOC
TOC:
  • กำเนิดพระพิมพ์และคติความเชื่อ
  • พระพิมพ์สู่พระเครื่อง : ความเปลี่ยนแปลงคติความเชื่อสมันรัตนโกสินทร์ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
  • พระเครื่องกับการเมืองและเศรษฐกิจไทย