Search results

6 results in 0.05s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
หนังสือ

    ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเจริญอภิณหปัจจเวกขณ์ในพระพุทธศาสนา 2) เพื่อเสริมสร้างการเจริญสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ 3) เพื่อบูรณาการการเจริญสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการเจริญสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์” ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 รูป/คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเนื้อหาและนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า อภิณหปัจจเวกขณ์ คือ ธรรมที่ควรพิจารณาเนือง ๆ เพื่อให้จิตยอมรับความจริงที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตทุกคน เพื่อให้ใจเกิดความคุ้นเคย เกิดสติปัญญา เห็นเข้าใจ และยอมรับความเป็นจริงของชีวิต จนนำไปสู่การปล่อยวางจากความยึดมั่นถือมั่น ยิ่งพิจารณาได้มากหรือบ่อยเท่าใด จิตก็ยิ่งปล่อยวางได้มากเท่านั้น เมื่อเข้าใจความเป็นจริงของชีวิตแล้ว จะดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท การเสริมสร้างสติด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ โดยการพิจารณาเรื่องธรรมดา 5 ด้าน คือ ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากจากของรักและการมีกรรมเป็นของ ๆ ตน เห็นตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นยอมรับและกล้าเผชิญสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต พิจารณาจนเกิดเป็นสติปัญญาอย่างสมบูรณ์ เป็นการสร้างสติอีกรูปแบบหนึ่ง สติที่ได้จากการพิจารณาอภิณหปัจจเวกขณ์จะส่งผลให้เป็นผู้ที่มีความสุขุมเยือกเย็น มีจิตมั่นคง มีจิตใจสงบ ดำเนินชีวิตอย่างไม่ประมาท ทั้งยังก่อให้เกิดคุณค่าต่อตนเอง ต่อสังคมและพระพุทธศาสนา การบูรณาการการเจริญสติด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ โดยพิจารณาว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ เรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ เรามีความพลัดพรากจากของรักของชอบใจ เราต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้นและเรามีกรรมเป็นของตน เราต้องได้รับผลของกรรมนั้น โดยใช้สติปัญญาพิจารณา เกิดการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง เกิดความเข้าใจ ทำให้เกิดความไม่ประมาท รูปแบบบูรณาการการเสริมสร้างสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ ทำให้ดำเนินชีวิตอยู่ โดยอาศัยสติปัญญาเป็นเครื่องนำทางจนเข้าถึงความจริงของชีวิต เกิดปัญญานำพาชีวิตให้มีความสุขจากการเข้าใจถึงหลักธรรมชาติ โดยสรุปเป็นองค์ความรู้คือ NSKTA MODEL
ดุษฎีนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการเจริญอภิณหปัจจเวกขณ์ในพระพุทธศาสนา 2) เพื่อเสริมสร้างการเจริญสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ 3) เพื่อบูรณาการการเจริญสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ และ 4) เพื่อนำเสนอแนวทางการสร้างองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการเจริญสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์” ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยการค้นคว้าข้อมูลจากพระไตรปิฎก เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้องและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 รูป/คน โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเนื้อหาและนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า อภิณหปัจจเวกขณ์ คือ ธรรมที่ควรพิจารณาเนือง ๆ เพื่อให้จิตยอมรับความจริงที่จะเกิดขึ้นกับชีวิตทุกคน เพื่อให้ใจเกิดความคุ้นเคย เกิดสติปัญญา เห็นเข้าใจ และยอมรับความเป็นจริงของชีวิต จนนำไปสู่การปล่อยวางจากความยึดมั่นถือมั่น ยิ่งพิจารณาได้มากหรือบ่อยเท่าใด จิตก็ยิ่งปล่อยวางได้มากเท่านั้น เมื่อเข้าใจความเป็นจริงของชีวิตแล้ว จะดำเนินชีวิตด้วยความไม่ประมาท การเสริมสร้างสติด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ โดยการพิจารณาเรื่องธรรมดา 5 ด้าน คือ ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ความพลัดพรากจากของรักและการมีกรรมเป็นของ ๆ ตน เห็นตามความเป็นจริงที่เกิดขึ้นยอมรับและกล้าเผชิญสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิต พิจารณาจนเกิดเป็นสติปัญญาอย่างสมบูรณ์ เป็นการสร้างสติอีกรูปแบบหนึ่ง สติที่ได้จากการพิจารณาอภิณหปัจจเวกขณ์จะส่งผลให้เป็นผู้ที่มีความสุขุมเยือกเย็น มีจิตมั่นคง มีจิตใจสงบ ดำเนินชีวิตอย่างไม่ประมาท ทั้งยังก่อให้เกิดคุณค่าต่อตนเอง ต่อสังคมและพระพุทธศาสนา การบูรณาการการเจริญสติด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ โดยพิจารณาว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ เรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ เรามีความพลัดพรากจากของรักของชอบใจ เราต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้นและเรามีกรรมเป็นของตน เราต้องได้รับผลของกรรมนั้น โดยใช้สติปัญญาพิจารณา เกิดการเปรียบเทียบผลที่เกิดขึ้นตามความเป็นจริง เกิดความเข้าใจ ทำให้เกิดความไม่ประมาท รูปแบบบูรณาการการเสริมสร้างสติพิจารณาด้วยอภิณหปัจจเวกขณ์ ทำให้ดำเนินชีวิตอยู่ โดยอาศัยสติปัญญาเป็นเครื่องนำทางจนเข้าถึงความจริงของชีวิต เกิดปัญญานำพาชีวิตให้มีความสุขจากการเข้าใจถึงหลักธรรมชาติ โดยสรุปเป็นองค์ความรู้คือ NSKTA MODEL
The objectives of this dissertation are: 1) to study the contemplation of Abhinhapaccavekkhana in Buddhism, 2) to strengthen mindfulness by contemplation of Abhinhapaccavekkhana, 3) to integrate the mindfulness strengthening by contemplation of Abhinha-paccavekkhana, and 4) to propose a model of a body of knowledge on “Integration of mindfulness strengthening by contemplation of Abhinhapaccavekkhana”. The data of this qualitative research were collected from the Tipitaka, documents, research works concerned and in-depth interviews with 12 experts. The data were analyzed by content analysis. The results of the study were found that: Abhinhapaccavekkhana is ideas or facts which should be contemplated again and again in order to accept the facts of life that can occur to everyone. When the mind is accustomed to those facts, the one will understand life and accept the truth so that they can reach detachment in life. The more a person contemplates Abhinhapaccavekkhana, the more he can have detachment. When the ones understand the facts of life, they will live a life with earnestness. To strengthen mindfulness by contemplation of Abhinhapaccavekkhana is to contemplate 5 facts; old age, sickness, death, separation from the beloved, and owning of one’s deed. When the ones realize the truth and accept it, they will dare to confront with whatever happens in their life. When it is practiced regularly and completely, it is a way to create mindfulness. The mindfulness obtained from contemplation of Abhinhapaccavekkhana can result to calmness, firmness, and peacefulness of mind. The ones having these mental qualities will live a life with carefulness and create values to themselves, Buddhism and society. The integration of mindfulness strengthening by contemplation of Abhinhapaccavekkhana is to contemplate that we are subject to decay and we cannot escape it; we are subject to disease and we cannot escape it; we are subject to death and we cannot escape it; there will be separation from all that are dear to us and beloved; and we are owners of our deed, whatever deed we do, we shall become heir to it. The comparison of results and impacts of the deed by contemplation with mindfulness and wisdom will lead to understanding and carelessness. The NSKTA MODEL is the model of Integration of mindfulness strengthening by contemplation of Abhinhapaccavekkhana that can lead to the truth of life based on mindfulness and wisdom and happiness in life based on understanding in the natural law.
หนังสือ

    การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยอานาปานสติในพระพุทธศาสนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน ด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารโดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารวิชาการ พระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า 1.การพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนประกอบด้วยการพัฒนาด้านความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) 2.อานาปานสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนาที่ใช้การกำหนดลมหายใจโดยมีสติกำกับใช้ในการทำให้จิตสงบ มีสมาธิ มีสติสัมปชัญญะ เพื่อพร้อมใช้พิจารณาปรากฏการณ์ 3.การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนาด้วยวิธีการให้เยาวชนทำอานาปานสติจนจิตสงบก่อนแล้วจึงสอนความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) เรื่องความซื่อสัตย์ ความมีวินัย และความมีน้ำใจ และสอนความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) เรื่องการรู้จักควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อปัญหา การประเมินสถานการณ์ และวิธีตอบสนองต่อปัญหา ต่อจากนั้นชี้คุณและโทษให้เยาวชนพิจารณา โดยต้องให้ทำตามหลักอานาปานสติที่ถูกต้อง ให้เยาวชนทำอย่างต่อเนื่อง และผู้ใหญ่ต้องทำเป็นตัวอย่าง 4.แนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” สามารถสรุปเป็นTDRAMA MODEL
การศึกษาดุษฎีนิพนธ์เรื่องการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยอานาปานสติในพระพุทธศาสนามีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน 2) เพื่อศึกษาหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 3) เพื่อบูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชน ด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา 4) เพื่อนำเสนอแนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “บูรณาการการพัฒนาความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบวิจัยเอกสารโดยศึกษาเนื้อหาจากเอกสารวิชาการ พระไตรปิฎก อรรถกถา และสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) จากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 12 รูป/คน ผลการวิจัยพบว่า 1.การพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนประกอบด้วยการพัฒนาด้านความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) และความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) 2.อานาปานสติในพระพุทธศาสนา หมายถึง การทำสมาธิในพระพุทธศาสนาที่ใช้การกำหนดลมหายใจโดยมีสติกำกับใช้ในการทำให้จิตสงบ มีสมาธิ มีสติสัมปชัญญะ เพื่อพร้อมใช้พิจารณาปรากฏการณ์ 3.การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนาด้วยวิธีการให้เยาวชนทำอานาปานสติจนจิตสงบก่อนแล้วจึงสอนความฉลาดทางคุณธรรม จริยธรรม (MQ) เรื่องความซื่อสัตย์ ความมีวินัย และความมีน้ำใจ และสอนความฉลาดในการแก้ปัญหาฝ่าฟันอุปสรรคของเยาวชน (AQ) เรื่องการรู้จักควบคุมตนเอง การมีความรับผิดชอบต่อปัญหา การประเมินสถานการณ์ และวิธีตอบสนองต่อปัญหา ต่อจากนั้นชี้คุณและโทษให้เยาวชนพิจารณา โดยต้องให้ทำตามหลักอานาปานสติที่ถูกต้อง ให้เยาวชนทำอย่างต่อเนื่อง และผู้ใหญ่ต้องทำเป็นตัวอย่าง 4.แนวทางและองค์ความรู้เกี่ยวกับ “การบูรณาการการพัฒนาศักยภาพทางความฉลาดของเยาวชนด้วยหลักอานาปานสติในพระพุทธศาสนา” สามารถสรุปเป็นTDRAMA MODEL
The objectives of this dissertation were as follows; 1) to study the development of quotient potential of the youths, 2) to study the principles of Ānāpānasati in Buddhism, 3) to integrate the development of quotient potential of the youths with Ānāpānasati in Buddhism, and 4) to propose guidelines in building new knowledge regarding “the Model of integrating Quotient Potential Development of the Youths by Ānāpānasati”. The data of this documentary qualitative research were collected from academic works, the Tipittaka, Commentaries, and indepth interviews with 12 experts. The results of the study indicated that: 1.The development of quotient potential of the youths consists of developing in Moral Quotient (MQ) and Adversity Quotient (AQ) 2.Ānāpānasati in Buddhism refers to concentration on mindful breathing to calm the mind for phenomenon consideration. 3.Integrating the Quotient Potential development of the youths with Ānāpānasati principles in Buddhism is to allow the youths to practice ānāpānasati until their mind is calm enough. Then the Moral Quotient (MQ) on honesty, discipline and kindness and Adversity Quotient (AQ) on self-control, responsibility for problems, situation assessment and how to respond to problems are taught to them. Finally, let them consider advantages and disadvantages of problems based on Ānāpānasati principles. The youths do it continuously under the supervision and guidelines of adults. 4.The guidelines and body of knowledge about integrating the Quotient Potential development of the youths with Ānāpānasati principles in Buddhism can be summarized into a “TDRAMA Model”.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557
ฉบับอัดสำเนา, ดุษฎีนิพนธ์ (ศน.ด.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2557