Search results

136 results in 0.07s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตรมหาบัณฑิต--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) รัฐศาสตรมหาบัณฑิต--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ดจำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 168 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณมีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบโดยการทดสอบ t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่ำ ได้แก่ ด้านความมีคุณธรรม ด้านจิตอาสา ด้านความพอเพียง และด้านความมีวินัย 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนจำแนกตามเพศโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านความมีคุณธรรม ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ควรใช้ชีวิตแบบพอเพียง มีความพอประมาณ มีวินัยในการดำเนินชีวิต การตัดสินใจที่ถูกต้อง โดยอาศัยศีลธรรมเป็นเครื่องนำทาง ควรมีจิตใจโอบอ้อมอารี มีจิตแห่งการให้ความดีงามทั้งปวงแก่เพื่อนมนุษย์โดยเต็มใจ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ดจำแนกตามเพศ ตำแหน่ง และประสบการณ์ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน จำนวน 168 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณมีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบโดยการทดสอบ t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว F-test (One-way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลการวิจัยพบว่า 1. สภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปหาต่ำ ได้แก่ ด้านความมีคุณธรรม ด้านจิตอาสา ด้านความพอเพียง และด้านความมีวินัย 2. ผลการเปรียบเทียบสภาพการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ของผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนจำแนกตามเพศโดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ยกเว้นด้านความมีคุณธรรม ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์โดยรวมและรายด้านแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการดำเนินงานส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรมนักเรียนในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา จังหวัดร้อยเอ็ด ควรใช้ชีวิตแบบพอเพียง มีความพอประมาณ มีวินัยในการดำเนินชีวิต การตัดสินใจที่ถูกต้อง โดยอาศัยศีลธรรมเป็นเครื่องนำทาง ควรมีจิตใจโอบอ้อมอารี มีจิตแห่งการให้ความดีงามทั้งปวงแก่เพื่อนมนุษย์โดยเต็มใจ
The purposes of the thesis were: 1) to study the measures for promotion of moral and ethical conducts of students in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. 2) to compare the measures for promotion of moral and ethical conducts of students in the ecclesiastical general schools in Roi Et province to differences of their sex, position and work experiences, 3) to examine suggestions for the measures for promotion of moral and ethical conducts of students in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. The sampling groups employed for the research comprised 168 subjects working for their schools. The research instrument used for data collection was the Likert-type questionnaire, of which every question in the questionnaire had its IOC between 0.67 and 1.00, and its reliability at 0.96. Statistics for data analyses embraced: frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test, comparing paired differences by Scheffe’s method. Results of the study have found The following findings: 1. Educational personnel’s opinions on morale and motives for work performances at such schools in the aforesaid province have been rated at the high scales in the overall aspect, as has each of aspects taken into consideration. The entire aspects placed in their descending order are: the superior’s relationship with the subordinate, the latter’s states of working places, the latter’s incomes and fringe benefits, their physical and mental health, the former’s relationship with colleagues, and the latter’s job security and their career progression opportunity. 2. The comparative results of hypothesis testing related to differences of subjects’ genders and educational qualifications have found no statistical significance in their morale and motives for work performances at the target schools, thereby rejecting null hypothesis; while those of their ages and work experiences have indicated otherwise. 3. Educational personnel’s suggestions for boosting their morale and motives for work performances at such schools in the said province are that the superior should: be emotionally constant, calm and discreet, logically solve problems, widely open opportunities for personnel to use their knowledge and competency, regularly create good working relationship with the subordinate, strictly treat every colleague as valuable human resources, openly laud the subordinate’s successful undertakings, strongly boost their morale for reinforcing work performances.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
The research served the purposes: 1) to study the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. 2) to compare the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province Classified by position, education and work experience. 3) to collect suggestions for the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. The number of sampling groups for conducting the research comprised 100 preschool child guardians, whose preschool children had been enrolled at the center. The samples used in this study were the personnel of the Buddhist Scripture School. Department of General Education In Roi Et. Include administrators, teachers and school board 100. The research instrument for data collection was the Likert-type questionnaire with the Index of Item Objective Congruence : IOC of each question between 0.67 and 1.00, and the reliability for the whole questions at 0.96 Statistics for data analyses embraced frequencies, percentages, standard deviations, F-tests (One-way ANOVA). Results of the research findings: 1. The condition of the academic administration is the participation of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et overall, the mean was very high. The highest average is participatory action secondary decision making participation in consultation participation in planning participation, improvement and development and the lowest is the average participation, monitoring and evaluation. 2. Comparison results Management of participatory academic affairs. The school of scripture ddepartment of general education in Roi Et cclassified by position, education and work experience. Overall, the difference was statistically significant at .05 3. Recommendations for participatory academic management of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et. There should be support and encouragement for personnel and community participation in the management of teaching. Development and use of advanced technology for education and they are ready to create a knowledgeable database of personnel. The system should be monitored, monitored and evaluated. The use of information technology for continuous development.
หนังสือ

หนังสือ

    Abstract : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดย ใช้โครงงานเป็นฐาน 2) ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน และ 3) เสนอแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย เป็นครูจำนวน 5 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 26 คน โรงเรียน อนุบาลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560 โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน นำ หลักอริยสัจ 4 มาใช้เป็นขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอนในวิชาโครงงานโดยใช้หลักเหตุผล ขั้นที่ หนึ่งคือทุกข์ กำหนดปัญหา ขั้นที่สองคือสมุทัย ตั้งสมมุติฐาน ขั้นที่สามคือนิโรธ วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ ทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ขั้นที่สี่คือมรรค สรุปการแก้ปัญหา (2) ปัญหาพบว่า นักเรียนเกิดความ ท้อแท้ในการทำโครงงาน ไม่นำหลักอริยสัจ 4 มาใช้แก้ปัญหา ครูมีความรู้ความสามารถด้านการ จัดการเรียนรู้น้อย ไม่เข้าใจบทบาทของผู้สอนที่เป็นผู้อ านวยความสะดวก ครูไม่เข้าใจกระบวนการ ของการพัฒนาหลักสูตร (3) แนวทางการแก้ไขปัญหา นักเรียน ควรท ากิจกรรมจิตศึกษาก่อนเรียน เพื่อให้มีสมาธิและสมองตื่นตัวพร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างบรรยากาศการเรียนให้สนุกสนาน แนวทาง แก้ปัญหาครู คือจัดอบรมครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 และโครงงาน ศึกษาดูงาน โรงเรียนต้นแบบ ส าหรับแนวทางแก้ปัญหาหลักสูตร ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทำ หลักสูตร ประเมินผลอย่างเป็นระบบ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาครู
Abstract : การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) สภาพการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดย ใช้โครงงานเป็นฐาน 2) ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน และ 3) เสนอแนวทางแก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการวิจัย เป็นครูจำนวน 5 คนและนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จ านวน 26 คน โรงเรียน อนุบาลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ปีการศึกษา 2560 โดยทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิง พรรณนา ผลการวิจัยพบว่า (1) การจัดการเรียนรู้ตามหลักอริยสัจ 4 โดยใช้โครงงานเป็นฐาน นำ หลักอริยสัจ 4 มาใช้เป็นขั้นตอนกระบวนการเรียนการสอนในวิชาโครงงานโดยใช้หลักเหตุผล ขั้นที่ หนึ่งคือทุกข์ กำหนดปัญหา ขั้นที่สองคือสมุทัย ตั้งสมมุติฐาน ขั้นที่สามคือนิโรธ วิธีการต่าง ๆ ที่ใช้ ทดสอบสมมุติฐานที่ตั้งไว้ ขั้นที่สี่คือมรรค สรุปการแก้ปัญหา (2) ปัญหาพบว่า นักเรียนเกิดความ ท้อแท้ในการทำโครงงาน ไม่นำหลักอริยสัจ 4 มาใช้แก้ปัญหา ครูมีความรู้ความสามารถด้านการ จัดการเรียนรู้น้อย ไม่เข้าใจบทบาทของผู้สอนที่เป็นผู้อ านวยความสะดวก ครูไม่เข้าใจกระบวนการ ของการพัฒนาหลักสูตร (3) แนวทางการแก้ไขปัญหา นักเรียน ควรท ากิจกรรมจิตศึกษาก่อนเรียน เพื่อให้มีสมาธิและสมองตื่นตัวพร้อมเรียนรู้สิ่งใหม่ สร้างบรรยากาศการเรียนให้สนุกสนาน แนวทาง แก้ปัญหาครู คือจัดอบรมครูเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบอริยสัจ 4 และโครงงาน ศึกษาดูงาน โรงเรียนต้นแบบ ส าหรับแนวทางแก้ปัญหาหลักสูตร ให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมในการจัดทำ หลักสูตร ประเมินผลอย่างเป็นระบบ และมีส่วนร่วมในการพัฒนาครู
Abstract : The objectives of this research were to study (1) condition of learning management based on the Four Noble Truths by using work project; (2) problems learning management based on the Four Noble Truths by using work project; and (3) approaches solution for learning management based on the Four Noble Truths by using work project. The sample of this research included 5 teachers and 26 students from prathomsuka 6 in academic year 2017, Nongpakrang kindergarten school, Mueang district, Chiang Mai province. The data were analyzed through descriptive analysis. The results showed that 1) learning management based on the Four Noble Truths by using work project applied the Four Noble Truths as learning processes in work project by theoretical reasoning, that is, the first step as the Truth of Suffering by determining the problems, the second step as the Truth of the Origin of Suffering by setting hypothesis, the third step as the Truth of the Path to Cessation of Suffering by finding ways and means to test the hypothesis that had been set and the forth step as the Truth of the Cessation of Suffering by summarizing the solutions., 2) the problems showed that the students were disheartened and exhausted in doing the work project because they could not use the Four Noble Truths to solve the problems. The teachers had little knowledge to manage the learning. They could not understand the roles of teachers as facilitators and they did not understand the process of curriculum development., and 3) the guidelines for solution of the problems were that the students should do contemplative education before learning to have concentration and active brain ready for new learning and they should create a positive atmosphere in class. The guidelines for teachers' problem solution were that the teachers should be trained on the management of learning based on the Four Noble Truths and work project and provided with a study tour to the prototype school. Regarding the solution to curriculum problems, all parties were concerned to participate in curriculum preparation, systematic evaluation and teacher development.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 พบว่า เป็นแนวทางในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นทางสายเอกที่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนแก่หมู่ภิกษุสงฆ์ทั้งหลาย เพื่อเป็นแนวทางในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็นฐานที่ตั้งของสติ ในการระลึกถึงหนทางในการฝึกฝน ปฏิบัติเพื่อกำจัดอุปัทวะกิเลสให้สิ้นไป คือ การตั้งสติพิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม เป็นหนทางแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งหลาย ผลของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทำให้มีอานิสงส์ มีพลังในการเจริญสมาธิทำให้เกิดความสุขระดับโลกียสุข และระดับโลกุตตรธรรมจนถึงพระนิพพาน 2) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า รูปแบบการสอนกรรมฐานของท่านนั้นได้ปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยยึดหลักตามพระไตรปิฎก คือ โพธิปักขิยธรรม ให้ผู้ปฏิบัติกำหนดอารมณ์ให้เป็นปัจจุบันเป็นไปตามแนวทางสติปัฏฐาน 4 คือ ให้กำหนด กาย เวทนา จิต และธรรม ซึ่งท่านมีหลักที่ใช้ในการปฏิบัติกรรมฐานอยู่ 2 ประการ คือ สติกับสัมปชัญญะ คอยควบคุมหรือกำหนดจิต ให้จิตรู้หน้าที่การงานโดยถูกต้อง แล้วเหลืออยู่หนึ่งเดียว คือความไม่ประมาท เมื่อจิตไม่ประมาทแล้วย่อมดำเนินวิถีชีวิตด้วยความถูกต้อง ในการปฏิบัติกรรมฐานท่านให้ผู้เข้าปฏิบัติได้เพ่งพิจารณาไปที่ท้องแล้วกล่าวตามการหายใจเข้า ออก คือ ยุบหนอ พองหนอ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของสำนักวัดอัมพวัน ในขณะที่สอนกรรมฐานท่านจะบรรยายธรรมเกี่ยวกับเรื่อง กฎแห่งกรรม รวมทั้งอานิสงส์ของการสวดมนต์บทพาหุงมหากา ซึ่งเป็นเครื่องเจริญสติอย่างหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมสวดกันอย่างแพร่หลาย 3) วิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า มีคุณค่าด้านการเผยแผ่หลักธรรมและคำสอน คุณค่าด้านบุคลิกลักษณะ และคุณค่าด้านการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี นับได้ว่าคุณค่าทุกด้านของท่านมีคุณค่าอย่างยิ่ง ท่านจึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและมีผู้ศรัทธาเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั่วทุกประเทศ ในการปฏิบัติกรรมฐานนั้นมีคุณค่าและประโยชน์มากมายเท่าที่รู้จากประสบการณ์ของหลวงพ่อและจากการสอบอารมณ์ของผู้ที่มาปฏิบัติกรรมฐาน พอสรุปได้ 3 ประการ ดังนี้ 1) ระลึกชาติได้ 2) เห็นกฎแห่งกรรม และ 3) เกิดปัญญาในการแก้ปัญหาชีวิตได้
วิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 2) เพื่อศึกษารูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) และ 3) เพื่อศึกษาวิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ พระไตรปิฎก อรรถกถา ตำรา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม 2560-กันยายน 2560 ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เนื้อหาและวิเคราะห์แบบสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 พบว่า เป็นแนวทางในการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานเป็นทางสายเอกที่องค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าตรัสสอนแก่หมู่ภิกษุสงฆ์ทั้งหลาย เพื่อเป็นแนวทางในการเจริญวิปัสสนากรรมฐาน เป็นฐานที่ตั้งของสติ ในการระลึกถึงหนทางในการฝึกฝน ปฏิบัติเพื่อกำจัดอุปัทวะกิเลสให้สิ้นไป คือ การตั้งสติพิจารณากาย เวทนา จิต และธรรม เป็นหนทางแห่งการหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งหลาย ผลของการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทำให้มีอานิสงส์ มีพลังในการเจริญสมาธิทำให้เกิดความสุขระดับโลกียสุข และระดับโลกุตตรธรรมจนถึงพระนิพพาน 2) รูปแบบการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า รูปแบบการสอนกรรมฐานของท่านนั้นได้ปฏิบัติตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยยึดหลักตามพระไตรปิฎก คือ โพธิปักขิยธรรม ให้ผู้ปฏิบัติกำหนดอารมณ์ให้เป็นปัจจุบันเป็นไปตามแนวทางสติปัฏฐาน 4 คือ ให้กำหนด กาย เวทนา จิต และธรรม ซึ่งท่านมีหลักที่ใช้ในการปฏิบัติกรรมฐานอยู่ 2 ประการ คือ สติกับสัมปชัญญะ คอยควบคุมหรือกำหนดจิต ให้จิตรู้หน้าที่การงานโดยถูกต้อง แล้วเหลืออยู่หนึ่งเดียว คือความไม่ประมาท เมื่อจิตไม่ประมาทแล้วย่อมดำเนินวิถีชีวิตด้วยความถูกต้อง ในการปฏิบัติกรรมฐานท่านให้ผู้เข้าปฏิบัติได้เพ่งพิจารณาไปที่ท้องแล้วกล่าวตามการหายใจเข้า ออก คือ ยุบหนอ พองหนอ ซึ่งเป็นเอกลักษณ์ของสำนักวัดอัมพวัน ในขณะที่สอนกรรมฐานท่านจะบรรยายธรรมเกี่ยวกับเรื่อง กฎแห่งกรรม รวมทั้งอานิสงส์ของการสวดมนต์บทพาหุงมหากา ซึ่งเป็นเครื่องเจริญสติอย่างหนึ่งที่ชาวพุทธนิยมสวดกันอย่างแพร่หลาย 3) วิเคราะห์คุณค่าการสอนกรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 โดยเน้นคำสอนเรื่องกรรมของพระธรรมสิงหบุราจารย์ (จรัญ ฐิตธมฺโม) พบว่า มีคุณค่าด้านการเผยแผ่หลักธรรมและคำสอน คุณค่าด้านบุคลิกลักษณะ และคุณค่าด้านการปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี นับได้ว่าคุณค่าทุกด้านของท่านมีคุณค่าอย่างยิ่ง ท่านจึงได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายและมีผู้ศรัทธาเข้าปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั่วทุกประเทศ ในการปฏิบัติกรรมฐานนั้นมีคุณค่าและประโยชน์มากมายเท่าที่รู้จากประสบการณ์ของหลวงพ่อและจากการสอบอารมณ์ของผู้ที่มาปฏิบัติกรรมฐาน พอสรุปได้ 3 ประการ ดังนี้ 1) ระลึกชาติได้ 2) เห็นกฎแห่งกรรม และ 3) เกิดปัญญาในการแก้ปัญหาชีวิตได้
The objectives of this thesis ware as follows 1) To study the Model on Meditation Teaching in Satipatthana 4, 2) To study the Model on Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo) and 3) To study values of Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo). The sample groups were the Tipitaka Commentaries. Texts and relevant researches. The thesis was the documentary qualitative research works. All the data, collected during January-September 2017, were then analyzed by content analysis and analytic induction. The results of research are found as follows: 1) Meditation Teaching in Satipatthana 4 Astring that Lord Buddha had taught the monks among them. To guide the Vipassana meditation. As a base of consciousness In recognition of the way in training. Aupatwa practices to eliminate damage to the guest is to calm the mind and body perception justified as a way of liberation from suffering and destruction. The effects of meditation practice, made a New Song. Meditation has the power to evoke joy at Longchamp. Lo and Gangut sq fair to Nirvana. 2) The Model on Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo) was formed to teach meditation you have to follow the guidelines Satipatthana 4. The principle is based on the Holy scriptures phothipakkhithrrm. The operator sets the mood for a modern approach to the problem of consciousness is to set out the four mental health, compassion and fairness which are primarily used in the practice of meditation are two kinds: the smallness of consciousness. To control or define mental Know the job correctly. Then the remaining one Is a precaution When I would not underestimate the mental lifestyle with accuracy. While meditation teaches you to lectures about karma and merits of the arms of prayer epic. This is one of the Buddhist mindfulness widely popular hymns. 3) The values of Meditation Teaching in Satipatthana 4 Approach by Stressing the Teaching of Kamma of Phradhamsinghaburacariya (Charan Thitadhammo). : found valuable in disseminating the principles and doctrines. Values personality And values to behave as role models. It is considered particularly valuable has been widely popular with the practice of meditation all over the country. The practice of meditation is valuable and useful as you know from experience pastor and from the mood of the practice of meditation can be summarized three reasons :1) national memorial 2) the law of action and 3) the wisdom to solve life issues.
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาพุทธศาสนาและปรัชญา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561