Search results

5 results in 0.05s

หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาในประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ด้วยการหาค่า t-test และ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 โดยรวมมีระดับการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากสูงไปหาต่ำ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการนิเทศการศึกษา 2. การเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษาไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 สถานศึกษาควรส่งเสริมและพัฒนาทักษะครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในด้านการจัดนวัตกรรมการเรียนรู้หรือจัดกิจกรรมใหม่ๆร่วมกับโรงเรียน เครือข่ายและสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการจัดทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอนในโรงเรียนประถมศึกษาในประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำนวน 117 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 ค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.94 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ด้วยการหาค่า t-test และ F-test ผลการวิจัย พบว่า 1. สภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 โดยรวมมีระดับการปฏิบัติ อยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากสูงไปหาต่ำ ด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา และด้านการนิเทศการศึกษา 2. การเปรียบเทียบสภาพปัจจุบันของการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตามตำแหน่ง โดยรวมและด้านการพัฒนาการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ด้านการพัฒนาแหล่งเรียนรู้ ด้านการนิเทศการศึกษาไม่แตกต่างกัน ส่วนด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาสื่อเทคโนโลยีทางการศึกษา แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และจำแนกประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมและรายด้าน ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 สถานศึกษาควรส่งเสริมและพัฒนาทักษะครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ด้าน ภาษาต่างประเทศ จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งในด้านการจัดนวัตกรรมการเรียนรู้หรือจัดกิจกรรมใหม่ๆร่วมกับโรงเรียน เครือข่ายและสร้างความร่วมมือกับภาคเอกชนในการจัดทำแหล่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนสู่ประชาคมอาเซียน
The purposes of the thesis were: 1) to study the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. 2) to compare the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1 to differences of their position and work experiences, 3) to examine suggestions for the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. The sampling groups employed for the research comprised 117 subjects working for their schools. The research instrument used for data collection was the Likert-type questionnaire, of which every question in the questionnaire had its IOC between 0.67 and 1.00, and its reliability at 0.94. Statistics for data analyses embraced: frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and F-test, comparing paired differences by Scheffe’s method. Results of the study have found The following findings: 1. Current condition the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. Overall, there is a level of practice Very high Sort by high to low is development of the curriculum, development of teaching, development of learning resources, mmeasurement and evaluation of learning, ddevelopment of Educational technology media and Education supervision. 2. to compare the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1 to differences of their position Overall, and the development of teaching and learning, measurement and evaluation of learning, development of learning resources, education supervision not different. The development of the curriculum, development of educational technology media. There were statistically significant differences at the .05 level. Classification of work experience overall and individual not different. 3.The suggestion the academic administration amidst the ASEAN community atmosphere of the schools under the office of primary education service, Roi Et area 1. Should promote and develop teacher skills the ability to manage the learning. Foreign language. Organize learning activities the innovation of learning or organize new activities with the school network. Collaborate with the private sector. To develop learning resources for the development of learners in the ASEAN community.
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ บุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ประกอบด้วย ผู้บริหาร ครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 100 รูป/คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC) อยู่ระหว่าง 0.67 – 1.00 มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน F-tests (One-way ANOVA)ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ จากการวิจัย การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด 1. สภาพของการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ รองลงมาคือ ด้านการมีส่วนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมปรึกษาหารือ ด้านการมีส่วนร่วมการวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมปรับปรุงและพัฒนา และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุดคือ ด้านการมีส่วนร่วมติดตามและประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบ การบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียน พระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามตำแหน่ง วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ข้อเสนอแนะการบริหารงานวิชาการแบบมีส่วนร่วมของบุคลากร สังกัดโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา ในจังหวัดร้อยเอ็ด ควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้บุคลากรและชุมชนมีส่วนร่วมตัดสินใจในการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาให้ทันสมัยและมีความพร้อมในการสร้างฐานข้อมูลความรู้ที่บุคลากร พร้อมทั้งควรมีระบบการตรวจสอบ ติดตาม และประเมิน ผลการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
The research served the purposes: 1) to study the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. 2) to compare the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province Classified by position, education and work experience. 3) to collect suggestions for the participatory academic administration in the ecclesiastical general schools in Roi Et province. The number of sampling groups for conducting the research comprised 100 preschool child guardians, whose preschool children had been enrolled at the center. The samples used in this study were the personnel of the Buddhist Scripture School. Department of General Education In Roi Et. Include administrators, teachers and school board 100. The research instrument for data collection was the Likert-type questionnaire with the Index of Item Objective Congruence : IOC of each question between 0.67 and 1.00, and the reliability for the whole questions at 0.96 Statistics for data analyses embraced frequencies, percentages, standard deviations, F-tests (One-way ANOVA). Results of the research findings: 1. The condition of the academic administration is the participation of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et overall, the mean was very high. The highest average is participatory action secondary decision making participation in consultation participation in planning participation, improvement and development and the lowest is the average participation, monitoring and evaluation. 2. Comparison results Management of participatory academic affairs. The school of scripture ddepartment of general education in Roi Et cclassified by position, education and work experience. Overall, the difference was statistically significant at .05 3. Recommendations for participatory academic management of personnel. The School of Scripture Department of General Education In Roi Et. There should be support and encouragement for personnel and community participation in the management of teaching. Development and use of advanced technology for education and they are ready to create a knowledgeable database of personnel. The system should be monitored, monitored and evaluated. The use of information technology for continuous development.
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมือง ร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหาร สถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test และ F-test (One-Way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของ ผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุดไปหาการปฏิบัติต่ำสุด พบว่าด้านมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ด้านศีล (สีลสิกขา) มีระดับการปฏิบัติสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) และด้านมีระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1) ด้านศีล (สีลสิกขา) พบว่า ข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุด จำนวน 3 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 2) ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และข้อระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การนิเทศการศึกษา และข้อมี ระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรควรแก้ไขพัฒนาทางปฏิสัมพันธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและสถาบันอื่นๆ ด้วยการยึดหลักมอบความรู้ข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อันยึดหลักบรรยากาศร่มรื่นสงบ และควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอันยึดหลักตรึกตรองการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กนักเรียน โดยทั้ง 3
วิทยานิพนธ์เล่มนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมือง ร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาและครูที่มีต่อการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหาร สถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 จำแนกตามเพศ อายุ และระดับการศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู รวมทั้งสิ้น 304 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่า IOC ระหว่าง 0.67-1.00 และมีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.96 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test และ F-test (One-Way ANOVA) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ผลวิจัยพบว่า ระดับการปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา เกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของ ผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 โดยรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า อยู่ในระดับมากทั้ง 3 ด้าน โดยเรียงลำดับจากข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุดไปหาการปฏิบัติต่ำสุด พบว่าด้านมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ด้านศีล (สีลสิกขา) มีระดับการปฏิบัติสูงสุดรองลงมา ได้แก่ ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) และด้านมีระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อมีผลการวิจัยปรากฏดังต่อไปนี้ 1) ด้านศีล (สีลสิกขา) พบว่า ข้อที่มีระดับการปฏิบัติสูงสุด จำนวน 3 ข้อ ได้แก่ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา และการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การส่งเสริมสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กร หน่วยงาน และสถาบันอื่นที่จัดการศึกษา 2) ด้านสมาธิ (จิตตสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และข้อระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาแหล่งเรียนรู้ 3) ด้านปัญญา (ปัญญาสิกขา) พบว่า ข้อมีระดับการปฏิบัติสูงสุด ได้แก่ การนิเทศการศึกษา และข้อมี ระดับการปฏิบัติต่ำสุด ได้แก่ การพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารวิชาการตามหลักไตรสิกขาของผู้บริหารสถานศึกษา อำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ดเขต 1 ผู้บริหารสถานศึกษาควรควรแก้ไขพัฒนาทางปฏิสัมพันธ์ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนงานวิชาการแก่บุคคล ครอบครัว องค์กรและสถาบันอื่นๆ ด้วยการยึดหลักมอบความรู้ข่าวสารอย่างเท่าเทียมกัน อีกทั้งควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนาแหล่งการเรียนรู้อันยึดหลักบรรยากาศร่มรื่นสงบ และควรแก้ไขพัฒนาการจัดการพัฒนานวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาอันยึดหลักตรึกตรองการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับเด็กนักเรียน โดยทั้ง 3
หลักดังกล่าวควรมีความสอดคล้องกับหลักวิชาการของหลักสูตรขั้นพื้นฐานที่ตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรมจริยธรรมอันดีงามของทางพุทธศาสนาและสอดคล้องกับนโยบายแห่งรัฐ
This research served the purposes: 1) to study levels of school administrators’ and teachers’ opinions on academic affairs administrations by virtue of three principles of Sikkha (Threefold Trainings), 2) to compare levels of their opinions on such academic administrations to their different genders, ages and educational levels, 3) To advise on academic administration in accordance with such principles. The target schools in Roi Et province’s Mueang district had been administered by schools administrators under the Office of Primary Education Service, Roi Et Area 1. The sampling groups were school administrators and teachers in the target schools, tallying 304 subjects. The research device was the five-rating scale, each of which possessed IOC between 0.67 and 1.00, and the reliability of the entire version at .96. Statistics used for processing data embodied frequency, means, standard deviations, t-test, F-tests (One-way ANOVA), Analyze data using computer. Results of the research: School administrators’ practical level of their academic administrations at the aforesaid schools has been found at the high scale in the overall aspect and each one, as has each aspect taken into consideration. To rank means of the practical levels of three aspects in descending order, they comprise practices of morality, wisdom and concentration respectively. Suggestions for school administrators’ academic affairs administrations with threefold trainings at aforesaid schools have been offered that that they should: first, deal with problems of developments for interrelationship on promotion and support of academic affairs for individuals, families, agencies and other institutions to render equal services of information; next, cope with developments of learning resource managements based on principles of peaceful ambience; then, solve problems of management developments of innovations and educational technologies with principles of prior thoughts of learning processes appropriate for pupils. With the said three suggestions, they should have to be in line with academic principles of basic curricula on the firm foundation of decent ethics and morality and policies of State’s policies.