Search results

33 results in 0.12s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    วิทยาพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 จำนวน 9 วิทยาลัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู คณาจารย์ รวมทั้งสิ้นจำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.385-0.857 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .980 ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานของผู้บริหาร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาคือ ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 2. ประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านคุณภาพผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านคุณภาพบุคลากร 3. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยความคิดเห็นของการบริหารงานของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาทุกด้าน โดยเรียงลำดับ การบริหารงานของผู้บริหาร ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาสูงสุดไปหาต่ำสุดตามลำดับ ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ด้านการวางแผน ด้านการนำ ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ และด้านที่มีความสัมพันธ์กันต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันภายในกับประสิทธิผลสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม และด้านการสื่อสารและการจูงใจ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ภายใน จะมีความสัมพันธ์กันภายใน 3 ระดับตามลำดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ ระดับที่ 2 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหารด้านการจัดองค์การ กับด้านควบคุม และระดับที่ 3 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ กับด้านการควบคุม กับด้านการสื่อสารและการจูงใจ
วิทยาพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารงานของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 2) เพื่อศึกษาประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ บุคลากรในสังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 จำนวน 9 วิทยาลัย ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครู คณาจารย์ รวมทั้งสิ้นจำนวน 325 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.385-0.857 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .980 ผลการวิจัยพบว่า 1. การบริหารงานของผู้บริหาร สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านการจัดองค์การ รองลงมาคือ ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 2. ประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยรวมอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุด คือ ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านคุณภาพผู้เรียน ส่วนด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ด้านคุณภาพบุคลากร 3. วิเคราะห์ข้อมูลความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 โดยความคิดเห็นของการบริหารงานของผู้บริหารมีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาทุกด้าน โดยเรียงลำดับ การบริหารงานของผู้บริหาร ที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิผลสถานศึกษาสูงสุดไปหาต่ำสุดตามลำดับ ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม ด้านการสื่อสารและการจูงใจ ด้านการวางแผน ด้านการนำ ด้านการมีวิสัยทัศน์ ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์ และด้านที่มีความสัมพันธ์กันต่ำที่สุด คือ ด้านการทำงานเป็นทีม 4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา สังกัดสถาบันการอาชีวศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3 ซึ่งความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารงานของผู้บริหารกับประสิทธิผลสถานศึกษา มีความสัมพันธ์กันภายในกับประสิทธิผลสถานศึกษา 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการจัดองค์การ ด้านการควบคุม และด้านการสื่อสารและการจูงใจ เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ภายใน จะมีความสัมพันธ์กันภายใน 3 ระดับตามลำดับ ดังนี้ ระดับที่ 1 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ ระดับที่ 2 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหารด้านการจัดองค์การ กับด้านควบคุม และระดับที่ 3 ได้แก่ การบริหารงานของผู้บริหาร ด้านการจัดองค์การ กับด้านการควบคุม กับด้านการสื่อสารและการจูงใจ
The objectives of this research were to 1) study the executive management of the schools under the Vocational Education Institute in the Northeastern Region 3, 2) study the effectiveness of the so-said schools and 3) analyze the relationship between the executive management and the effectiveness of schools as mentioned. The samples used in the research consisted of administrators and instructors of the 9 vocational education institutes in the Northeastern Region 3, totally 325 in number. The instrument used for data collection was a 5-rating scale questionnaire with discriminatory power of 0.385 – 0.857, and reliability of .980. The results of the research were as follows: 1.The executive management of the schools under the institute of vocational education in the Northeastern Region 3 was, in an overall aspect, found to exist at a high level, with the highest average revealed in the aspect of organization, followed by communication and motivation. The aspect that featured the lowest average was teamwork. 2. The effectiveness of the schools in mention was, in an overall aspect, found to stand at a high level, with the highest average shown in the field of management quality, followed by quality of learners. The aspect with the lowest average was personnel quality. 3. As for the analysis of information and opinions about the executive management and the effectiveness of the schools under the so-said institute, the opinions of the executive management were found to be related to educational effectiveness in all aspects, led by organization, control, communication and motivation, planning and leading, vision and achievement-orientation, respectively. The aspect that touched the bottom line was teamwork. 4. The analysis of relationship between the executive management and effectiveness of the schools under the Institute as mentioned displayed the internal correlation in 3 dimensions, namely, organization, control, and communication and motivation. The level of inner relationship could be also classified into 3 cascades as follows: The first level was the executive management itself. The second level was the executive administration in relation with organization and control. And the third level was the executive management in relation with organization, control and communication and motivation.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 3) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อการจัดการความรู์ ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จํานวน 505คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า: 1. วัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลําดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสถานศึกษา รองลงมาคือ ความมีคุณภาพ ความมุ่งประสงค์ของสถานศึกษา ตามลําดับและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ การตัดสินใจ 2. การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลําดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การเข้าถึงความรู้ รองลงมาคือ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ ตามลําดับ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 3. วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในสถานศึกษาสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 พบว่า การยอมรับ ความมุ่งประสงค์ของสถานศึกษา ความไว้วางใจ การตัดสินใจ ความมีคุณภาพ และความเอื้ออาทร ส่งผลต่อการจัดการความรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิต
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 2) เพื่อศึกษาการจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 3) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อการจัดการความรู์ ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ บุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนสังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 จํานวน 505คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่, ค่าร้อยละ, ค่าเฉลี่ย, ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า: 1. วัฒนธรรมองค์กรในสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลําดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของสถานศึกษา รองลงมาคือ ความมีคุณภาพ ความมุ่งประสงค์ของสถานศึกษา ตามลําดับและด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ การตัดสินใจ 2. การจัดการความรู้ของสถานศึกษา สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลําดับคะแนนเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ การเข้าถึงความรู้ รองลงมาคือ การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ ตามลําดับ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ 3. วัฒนธรรมองค์กรที่ส่งผลต่อการจัดการความรู้ในสถานศึกษาสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครปฐม เขต 2 พบว่า การยอมรับ ความมุ่งประสงค์ของสถานศึกษา ความไว้วางใจ การตัดสินใจ ความมีคุณภาพ และความเอื้ออาทร ส่งผลต่อการจัดการความรู้อย่างมีนัยสําคัญทางสถิต
This thesis has the following objectives: 1) to study the corporate culture in educational institutions, 2) to study the knowledge management of educational institutions, 3) to study the organizational culture that affects knowledge management of educational institutions Under the Office of Nakhon Pathom Primary Education Area Office, district 2 Percentage, average, standard deviation And stepwise multiple regression analysis The results of research were found that: 1. Corporate culture in educational institutions Under the Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2, in the overall picture at a high level By sorting the average score from descending to the least, the feeling of being part of the school, followed by the quality, the purpose of the school, respectively, and the lowest mean value is the decision 2. Knowledge management of educational institutions Under the Office of Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2, in the overall picture at a high level sorting the average score from descending to the least, accessing knowledge, followed by sharing, exchanging knowledge Creating and seeking knowledge, respectively, and the lowest mean values are systematic knowledge management 3. Organizational culture affecting knowledge management in educational institutions, Nakhon Pathom Primary Educational Service Area Office 2, found that the acceptance of the educational purposes, trust, decision-making, quality and generosity Affecting knowledge management with statistical significance.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2552
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ร.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 2) ศึกษาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี และ 3) ศึกษาบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีจำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า เกี่ยวกับบรรยากาศองค์การและความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .925 และ .933 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. บรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับดีทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความท้าทายและความรับผิดชอบ ด้านโครงสร้างองค์การ ด้านการปฏิบัติงานและความคาดหวัง ด้านความเสี่ยงในงาน ด้านการให้รางวัลและการลงโทษ ด้านความขัดแย้ง ด้านความผูกพันต่อองค์การ ด้านความอบอุ่น และด้านการสนับสนุน 2. ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุดคือ ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการมีแบบแผนความคิด และด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. บรรยากาศองค์การส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความขัดแย้ง (TC) ด้านความเสี่ยงในงาน (RI) ด้านความผูกพันต่อองค์การ (OI) และด้านโครงสร้างองค์การ (ST) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 56.30 (R2 = 0.563) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂= 0.904 + 0.323 (TC) + 0.272 (RI) + 0.118 (OI) + 0.1 (ST) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.355 (ZTC) + 0.318 (ZRI) + 0.131 (ZOI) + 0.097 (ZST)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาบรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 2) ศึกษาความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี และ 3) ศึกษาบรรยากาศองค์การที่ส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี โดยใช้วิธีวิจัยเชิงพยากรณ์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีจำนวน 286 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า เกี่ยวกับบรรยากาศองค์การและความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ ที่มีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ .925 และ .933 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. บรรยากาศองค์การของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับดีทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านความท้าทายและความรับผิดชอบ ด้านโครงสร้างองค์การ ด้านการปฏิบัติงานและความคาดหวัง ด้านความเสี่ยงในงาน ด้านการให้รางวัลและการลงโทษ ด้านความขัดแย้ง ด้านความผูกพันต่อองค์การ ด้านความอบอุ่น และด้านการสนับสนุน 2. ความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีมีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาค่าเฉลี่ยเป็นรายด้านพบว่าอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากสูงสุดไปต่ำสุดคือ ด้านการคิดอย่างเป็นระบบ ด้านการเป็นบุคคลที่รอบรู้ ด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วมกัน ด้านการมีแบบแผนความคิด และด้านการเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม 3. บรรยากาศองค์การส่งผลต่อความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ของมหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีเรียงตามลำดับความสำคัญ ได้แก่ ด้านความขัดแย้ง (TC) ด้านความเสี่ยงในงาน (RI) ด้านความผูกพันต่อองค์การ (OI) และด้านโครงสร้างองค์การ (ST) โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายหรืออำนาจพยากรณ์ ร้อยละ 56.30 (R2 = 0.563) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 สามารถเขียนความสัมพันธ์ในรูปสมการทำนายได้ ดังนี้ สมการคะแนนดิบ Y ̂= 0.904 + 0.323 (TC) + 0.272 (RI) + 0.118 (OI) + 0.1 (ST) สมการคะแนนมาตรฐาน Z ̂y = 0.355 (ZTC) + 0.318 (ZRI) + 0.131 (ZOI) + 0.097 (ZST)
The objectives of this research were: 1) to study organizational climate of Bangkok Thonburi University, 2) to study learning organization of Bangkok Thonburi University, and 3) to study organizational climate affecting learning organization of Bangkok Thonburi University. The data of this predictive research were collected by questionnaires about the organizational climate and the learning organization with reliability at .925 and .933 from 286 personnel of Bangkok Thonburi University. The data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, Pearson Product Moment Correlation Coefficient, and stepwise Multiple Regression Analysis. The results of the search were found that: 1. The organizational climate of Bangkok Thonburi University was at a good level overall and in aspects. The highest level was on challenge and responsibility, followed by organizational structure, performance standards and expectation, task risk, reward and punishment, conflicts, organizational identity, warmth, and support respectively. 2. The learning organization of Bangkok Thonburi University was at a high level overall and in aspects. The highest level was on systematic thinking, followed by perspnal mastery, building shared vision, mental models, and team learning respectively. 3. The organizational climate affected the learning organization of Bangkok Thonburi University, starting from Tolerance Conflicts (TC), and then Task Risk (RI), Organizational Identity (OI), and Organizational Structure (ST) with coefficient and predictive value at 56.30 % (R2 = 0.563) with a significantly statistic figure at .01. It could be written in a predictive equation as follows: Raw score: Y ̂= 0.904 + 0.323 (TC) + 0.272 (RI) + 0.118 (OI) + 0.1 (ST) Standard score: Z ̂y = 0.355 (ZTC) + 0.318 (ZRI) + 0.131 (ZOI) + 0.097 (ZST)