Search results

38 results in 0.14s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) รัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
Note: ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2550
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่ง แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุน การคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 234 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.80-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา (อปายโกศล), ด้านการสาธารณูปการ (อายโกศล) รองลงมา ด้านการสาธารณสงเคราะห์ (อุปายโกศล) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการศาสนศึกษา (อายโกศล) 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกเพศ ตามระดับการศึกษา และอายุ ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่สำคัญ ได้แก่ ควรมีการดูแล คุ้มครอง บริหาร ความสำคัญ การปกครองคณะสงฆ์ไทยให้เป็นไปตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ควรดำเนินการสอดส่อง ดูแล รักษาความเรียบร้อยดีงาม เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดหรือในปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศของมหาเถรสมาคม
วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และตำแหน่ง แตกต่างกัน 3) เพื่อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุน การคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ดกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคลากรในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 234 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ มีความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.80-1.00 และมีความเชื่อมั่นเท่ากับ .89 ผลการวิจัยพบว่า: 1. ผลการศึกษาระดับการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านโดยเรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงไปต่ำ ได้แก่ ด้านการเผยแพร่พระพุทธศาสนา (อปายโกศล), ด้านการสาธารณูปการ (อายโกศล) รองลงมา ด้านการสาธารณสงเคราะห์ (อุปายโกศล) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุดคือ ด้านการศาสนศึกษา (อายโกศล) 2. ผลการเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นที่มีต่อการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกเพศ ตามระดับการศึกษา และอายุ ไม่แตกต่างกัน 3. ข้อเสนอแนะแนวทางการประยุกต์ใช้หลักโกศล 3 ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในการส่งเสริมและสนับสนุนการคณะสงฆ์ อำเภออาจสามารถ จังหวัดร้อยเอ็ด ที่สำคัญ ได้แก่ ควรมีการดูแล คุ้มครอง บริหาร ความสำคัญ การปกครองคณะสงฆ์ไทยให้เป็นไปตามการปกครองในระบอบประชาธิปไตย ควรดำเนินการสอดส่อง ดูแล รักษาความเรียบร้อยดีงาม เพื่อให้พระภิกษุสามเณรที่อยู่ในวัดหรือในปกครองปฏิบัติตามพระธรรมวินัย กฎหมาย กฎ ข้อบังคับ ระเบียบ คำสั่ง ประกาศของมหาเถรสมาคม
The purposes of this study were to 1) study the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province 2) compare the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province, classified by age, education level, and different position 3) Application guidelines suggestions for the Three principles of Kosala application of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province. The sample consisted of 234 personnel at Selaphum District, Roi Et Province. The instrument used for data collection was a 5- level estimation scale questionnaire with content accuracy of 0.80 – 1.00, and confidence of .89. The results showed that 1.The studying results of the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province: overall, was in a high level. When considering in each aspect sorted from the highest to the lowest were Buddhism, public utility, followed by public welfare, and the lowest was religious studies. 2.The Opinion level comparison results of the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province, classified by gender, education level, and age were not different. 3. The importance of suggestions for application guidelines of the Three principles of Kosala application level of Local government organization for promotion and support the Sangha at Art Samart District, Roi Et Province were care, protection, management, and focus on the important of Thai Sangha government to be in accordance with the democratic regime. should be monitored and maintained to be tidy in order for priests and novices who were in the temple or under the rule of law to behave the disciplines, laws, rules, orders, announcements of the Supreme Sangha Council.
หนังสือ

    สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ที่มี เพศ อายุ การศึกษา แตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนจำนวน 361 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งการสุ่มแบบบังเอิญเป็นการแจกแบบสอบถามให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยบังเอิญไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าเป็นใคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) บทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พบว่า โดยรวมทั้ง3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ระดับมากที่สุด คือ ด้านไฟฟ้า รองลงมาคือ ด้านถนน และน้อยสุดคือ ด้านประปา 2) ประชาชนที่มีเพศ และการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ด้านไฟฟ้า เทศบาลควรให้ความรู้และแจ้งให้ประชาชนรับทราบและเข้าใจว่ามีการประชาสัมพันธ์การติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะมีความเหมาะสมในจุดที่ป้องกันเหตุร้ายได้ตลอดเวลา ด้านประปา พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาลควรให้ความรู้ ชี้แจง อธิบายและบอกถึงรายละเอียดต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ รับรู้ข้อมูลและมีความเข้าใจในการดูแลระบบการจ่ายน้ำประปามีความสม่ำเสมอมีบริการที่รวดเร็วในการปรับปรุงซ่อมแซมได้อย่างถูกต้อง ด้านถนน เทศบาลควรมีการการก่อสร้าง ปรับปรุง บูรณะ ซ่อมแซมถนนที่ชำรุดได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพได้รวดเร็วและเทศบาลจะได้มีการพัฒนาระบบการจราจรและพร้อมในการช่วยเมื่อได้รับความเดือดร้อนในเส้นทาง
สารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี 2) เพื่อเปรียบเทียบบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ที่มี เพศ อายุ การศึกษา แตกต่างกัน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ประชาชนจำนวน 361 คน แล้วใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซึ่งการสุ่มแบบบังเอิญเป็นการแจกแบบสอบถามให้กับประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยบังเอิญไม่ได้จำเพาะเจาะจงว่าเป็นใคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t-test) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) บทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี พบว่า โดยรวมทั้ง3 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านโดยเรียงลำดับตามค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ระดับมากที่สุด คือ ด้านไฟฟ้า รองลงมาคือ ด้านถนน และน้อยสุดคือ ด้านประปา 2) ประชาชนที่มีเพศ และการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่ประชาชนที่มีอายุต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของเทศบาลตำบลบางเก่า อำเภอชะอำ จังหวัดเพชรบุรี ด้านไฟฟ้า เทศบาลควรให้ความรู้และแจ้งให้ประชาชนรับทราบและเข้าใจว่ามีการประชาสัมพันธ์การติดตั้งไฟฟ้าสาธารณะมีความเหมาะสมในจุดที่ป้องกันเหตุร้ายได้ตลอดเวลา ด้านประปา พนักงานเจ้าหน้าที่เทศบาลควรให้ความรู้ ชี้แจง อธิบายและบอกถึงรายละเอียดต่าง ๆ ให้ประชาชนได้รับทราบ รับรู้ข้อมูลและมีความเข้าใจในการดูแลระบบการจ่ายน้ำประปามีความสม่ำเสมอมีบริการที่รวดเร็วในการปรับปรุงซ่อมแซมได้อย่างถูกต้อง ด้านถนน เทศบาลควรมีการการก่อสร้าง ปรับปรุง บูรณะ ซ่อมแซมถนนที่ชำรุดได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพได้รวดเร็วและเทศบาลจะได้มีการพัฒนาระบบการจราจรและพร้อมในการช่วยเมื่อได้รับความเดือดร้อนในเส้นทาง
This thematic paper had the following objectives: 1) To study the role of infrastructure development of Bangkao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province; 2) To compare the role of infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province, classified with gender, age, and education; and 3) To study the guidelines for the development of infrastructure of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province. It was a survey research. The sample group consisted of 361 people and used an accidental sampling method to collect data. It was accidentally randomized distribution of questionnaires to people living in Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province, accidentally not specific to who it was. The used tools in the research were questionnaires with the reliability of 0.95. The statistics used for data analysis were statistics, frequency (percentage), mean ( ) and standard deviation (SD). T-test and One-Way ANOVA test were used. When there were significant differences at the level of 0.05, the differences were analyzed by pairing with the method of Scheffé. The results of the research were found as follows: 1) The role of the infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-Am District, Phetchaburi Province, was found that the total of 3 aspects was at a high level. When considering each aspect by sorting by average from descending to highest, it was found that the highest level was the aspect of electricity. 2) People with different sex and education had opinions about the role of infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-Am District, Phetchaburi Province, in the whole view with no difference. But people with different ages had opinions about the role of infrastructure development of Bang Kao Sub-district Municipality, Cha-Am District, Phetchaburi Province, differing significantly at the level of 0.05. 3) Guidelines for the development of the infrastructure of Bang Kao Sub district Municipality, Cha-am District, Phetchaburi Province, were as follows : The municipality should educate and inform the public that there was a public relations installation of public electricity that was appropriate at the point of preventing the disaster. In the aspect of the water supply, the municipality officials should give knowledge, clarify, explain and give details to the public about information and understanding of the water supply distribution system with consistency, fast service in correcting and repairing. In the aspect of roads, municipality officials should have construction, improvement and reparation of the roads very fast and the municipality officials should develop the traffic system and ready to help when suffering was in the path.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
ฉบับอัดสำเนา,สารนิพนธ์(ศน.ม)--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,2553
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 255
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์(ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2553