Search results

61 results in 0.13s

หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2549
หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดของสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำนวน 243 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่า t-test และค่า F-test และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferoni ผลการวิจัย พบว่า 1. ความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1. หลักการกระจายอำนาจ 2. หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 3. หลักการบริหารตนเอง 4. หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน 5. หลักการพัฒนาทั้งระบบ และ 6. หลักเการบริหารแบบมีส่วนร่วม 2. ความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ของครูผู้สอนที่มีเพศต่างกัน หลักการบริหารตนเอง หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนหลักการกระจายอำนาจ และหลักการพัฒนาทั้งระบบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน หลักการบริหารตนเอง หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน หลักการพัฒนาทั้งระบบ หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนหลักการกระจายอำนาจ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ครูผู้สอนในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน หลักการกระจายอำนาจ หลักการบริหารตนเอง หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนหลักการพัฒนาทั้งระบบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดกลาง สูงกว่า โรงเรียนขนาดเล็ก และสูงกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำแนกตามเพศ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน และขนาดของสถานศึกษา 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง คือ ครูผู้สอนในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 จำนวน 243 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) 1.00 และมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่า t-test และค่า F-test และวิเคราะห์ความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferoni ผลการวิจัย พบว่า 1. ความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษาในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 โดยรวมและรายด้านมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1. หลักการกระจายอำนาจ 2. หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ 3. หลักการบริหารตนเอง 4. หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน 5. หลักการพัฒนาทั้งระบบ และ 6. หลักเการบริหารแบบมีส่วนร่วม 2. ความคิดเห็นของครูผู้สอนต่อการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐานของสถานศึกษา ในอำเภอวาปีปทุม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษามหาสารคาม เขต 2 ของครูผู้สอนที่มีเพศต่างกัน หลักการบริหารตนเอง หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนหลักการกระจายอำนาจ และหลักการพัฒนาทั้งระบบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ครูผู้สอนที่มีประสบการณ์ในการปฏิบัติงานต่างกัน หลักการบริหารตนเอง หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน หลักการพัฒนาทั้งระบบ หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนหลักการกระจายอำนาจ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ครูผู้สอนในสถานศึกษาที่มีขนาดต่างกัน หลักการกระจายอำนาจ หลักการบริหารตนเอง หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ และโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส่วนหลักการพัฒนาทั้งระบบ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าเฉลี่ยความคิดเห็นของครูผู้สอนในโรงเรียนขนาดกลาง สูงกว่า โรงเรียนขนาดเล็ก และสูงกว่าโรงเรียนขนาดใหญ่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.
ผลการศึกษาข้อเสนอแนะ พบว่า 1) หลักการกระจายอำนาจ ผู้บริหารโรงเรียนควรให้ครูและบุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการบริหารจัดการในสถานศึกษา 2) หลักการบริหารตนเอง โรงเรียนควรส่งเสริมให้ครูได้รับรู้ในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ 3) หลักการบริหารแบบมีส่วนร่วม โรงเรียนควรจัดให้ครูได้มีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมทำแนวปฏิบัติต่างๆ ของโรงเรียน 4) หลักการมีภาวะผู้นำแบบเกื้อหนุน ผู้บริหารโรงเรียนควรเปิดโอกาสให้ครู และบุคลากรภายในโรงเรียนนำเสนอแนวทางในการบริหารจัดการสถานศึกษา 5) หลักการพัฒนาทั้งระบบ โรงเรียนควรนำแนวคิดของการบริหารจัดการความรู้มาประยุกต์ใช้ในการบริหารจัดการ 6) หลักการรับผิดชอบที่ตรวจสอบได้ ผู้บริหารโรงเรียนควรจัดให้มีคณะกรรมการในการตรวจสอบ และติดตามผลการดำเนินงานตามแผนงาน/โครงการอย่างเป็นรูปธรรม
This research served the purposes: 1) to study teachers’ opinions an administrations based on school based management in Wapipathum district-located under the Office of Primary Education Service, Mahasarakham Area 2, 2) compare their opinions an administrations based on school based management of the preceding schools with different variables as classified by their genders, work experiences and school sizes, 3) to examine their suggestions for enhancing an administrations based on school based management. The sampling groups were comprised of 243 teachers at the same schools under the preceding office. The tool used for the research was the questionnaire handouts with the content validity of the whole questions 1.00 and its reliability at 0.90. Data were processed with the computer software to find out frequencies, percentages, means, standard deviations, t-test and F-tests. Pair differences were analyzed with Bonferroni’s method. Results of the research have found the following findings. 1. Opinions an administrations based on school based management in Wapipathum district-located under the Office of Primary Education Service, Mahasarakham Area 2 have been rated at the high scale in the overall aspect as has each one in all fields. Of all fields ranked in the descending order of means, they include: decentralization, accountable responsibilities, self-administrations, supportive leadership, total system developments, and participatory administrations. 2. Opinions an administrations based on school based management have found no differences in the overall aspect as has each one in the fields of: self-developments, participatory administrations, supportive leadership, and accountable responsibilities. Conversely, means of their opinions on the fields of decentralization and total system administrations have confirmed striking differences, with the statistical significance level at .05. With regard to their different work experiences, opinions on the site-based administrations of their schools in the fields of self-administrations, participatory administrations, supportive leadership, total system developments, and accountable responsibilities have found no differences in the overall aspect and each one. As for decentralization, their opinions have found striking differences, with the statistical significance level at .05. In respect of different school sizes, their opinions on the site-based administrations of the above mentioned schools have found no differences in the overall aspect and each one in the fields of decentralization, self-administrations, participatory administrations, supportive leadership, accountable responsibilities, and total system developments. As with the field of total system developments, their opinions have revealed stark differences, with the statistical significance level at .05. In other words, opinions of teachers teaching at the medium-sized schools are higher than those in the small and big size ones, with the statistical significance level at .05. 3. Results of the study of their suggestions have found the following guidelines: 1) Decentralization: school administrators must have teachers and educational personnel take part in school managements. 2) Self-administrations: they have to have the latter gain effective management knowledge of instructional activities. 3) Participatory administrations: they let the latter take part in mutual thoughts and acts for drawing up practical guidelines of school administrations. 4) Supportive leadership: they must open up opportunities to the latter and educational personnel to put forward approaches of school managements. 5) Total system developments: they ought to apply concepts on knowledge-based managements to school managements. 6) Accountable responsibilities: they should form scrutinizing committees to concretely follow up results of implementing work plans and projects.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ และอายุ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จำนวน 278 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ t-test ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferroni (Field,A.,2000) ผลการวิจัย พบว่า 1. การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบระดับการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ และอายุ ด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล และโดยรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉลี่ยระดับการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เพศชายและเพศหญิง ด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า 1) ควรแจ้งให้ผู้ปกครองได้รับทราบเกี่ยวกับกิจกรรม/โครงการ ที่โรงเรียนจะดำเนินการในแต่ละปีการศึกษา เพื่อให้ผู้ปกครองได้ร่วมตัดสินใจในการให้นักเรียนในปกครองได้เข้าร่วมในกิจกรรม/โครงการนั้น 2) โรงเรียนควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองได้รับทราบเกี่ยวกับกำหนดการ เวลา สถานที่ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการในกิจกรรม/โครงการนั้นๆ 3) การจัดกิจกรรม/โครงการของโรงเรียน ควรคำนึงถึงวัย และระดับชั้นของนักเรียน เพื่อให้การจัดกิจกรรมเกิดผลดีต่อนักเรียนทุกระดับชั้นอย่างทั่วถึง และ 4) โรงเรียนควรนำผลการประเมินกิจกรรม/โครงการเผยแพร่ให้ผู้ปกครองได้รับทราบเพื่อประกอบการตัดสินใจในการสนับสนุนกิจกรรม/โครงการของโรงเรียนต่อไป
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ของการวิจัย คือ 1) เพื่อศึกษาการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นที่มีต่อการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ และอายุ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย ผู้ปกครองนักเรียน โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จำนวน 278 คน เครื่องมือในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม มีค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) อยู่ระหว่าง 0.67-1.00 และค่าความเชื่อมั่น (Reliability) เท่ากับ 0.94 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป เพื่อหา ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ t-test ค่า F-test และวิเคราะห์เพื่อหาความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีของ Bonferroni (Field,A.,2000) ผลการวิจัย พบว่า 1. การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด ด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล 2. ผลการเปรียบเทียบระดับการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด จำแนกตามเพศ และอายุ ด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ด้านการมีส่วนร่วมในการดำเนินการ ด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล และโดยรวมไม่แตกต่างกัน ยกเว้นค่าเฉลี่ยระดับการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง เพศชายและเพศหญิง ด้านการมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ผลการศึกษาข้อเสนอแนะการบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง โรงเรียนอนุบาลโพนทอง จังหวัดร้อยเอ็ด พบว่า 1) ควรแจ้งให้ผู้ปกครองได้รับทราบเกี่ยวกับกิจกรรม/โครงการ ที่โรงเรียนจะดำเนินการในแต่ละปีการศึกษา เพื่อให้ผู้ปกครองได้ร่วมตัดสินใจในการให้นักเรียนในปกครองได้เข้าร่วมในกิจกรรม/โครงการนั้น 2) โรงเรียนควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ผู้ปกครองได้รับทราบเกี่ยวกับกำหนดการ เวลา สถานที่ และบุคคลที่เกี่ยวข้องในการดำเนินการในกิจกรรม/โครงการนั้นๆ 3) การจัดกิจกรรม/โครงการของโรงเรียน ควรคำนึงถึงวัย และระดับชั้นของนักเรียน เพื่อให้การจัดกิจกรรมเกิดผลดีต่อนักเรียนทุกระดับชั้นอย่างทั่วถึง และ 4) โรงเรียนควรนำผลการประเมินกิจกรรม/โครงการเผยแพร่ให้ผู้ปกครองได้รับทราบเพื่อประกอบการตัดสินใจในการสนับสนุนกิจกรรม/โครงการของโรงเรียนต่อไป
The objective of the research were: 1) to study education administration with guardians participation of thephon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et province. 2) to compareComments on education administration with guardians participation of the phon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et. classified by sex and age. 3) To find out the suggestionseducation administration with guardians participation of the phon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et province. The sample consisted ofstudent's parentof the phon thong kindergarten278 person.The research instrument was a questionnaire Content validityin between0.67-1.00and reliability as0.94 Data analysis using computer programto find the frequency, percentage, mean, standard deviation. Test the difference of mean using t-test F-test Analyzes were performed to determine the difference of the two groups Bonferroni (Field,A.,2000) The research results were as follows to find out the suggestion: 1. education administration with guardians participation of the phon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et provinceParticipation in the decision-making process, participation in the implementation, participation in receiving benefits, 2.The comparison of education administration with guardians participation of the phon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et province Classified by sex and age.Participation in the decision-making process, Participation in the implementation, Participation in receiving benefits, Participation in evaluation and overall, no difference. Exclude averageeducation administration with guardians participation of the phon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et province male and female.The participation in the decision making process was significantly different at the .05 level. 3. Suggestioneducation administration with guardians participation of the phon thong kindergarten, phon thong district, Roi Et province found 1) Parents should be informed about the activity / project.The school will conduct each school year.In order for parents to make decisions about their students.Participate in activities / projects. 2) The school should be publicized to parents about the schedule location and people involved in the activities / projects.3) School Activities / Projectstake into account age And the class of students.The activities are good for students of all levels. 4) The school should bring the results of the activity / project evaluation publish to parents.To support decision-making in supporting the school's activities / projects.
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศศ.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
ฉบับอัตสำเนา, สารนิพนธ์(ศน.ม) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
Note: ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.) สาขาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2561
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) การบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2558
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศษ.ม) สาขาวิชาการบริหารการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2559
หนังสือ