13762nam a22002537a#450000100060000000700030000600800410000908200300005010001200008024505710020024601460077126001210091730000590103852052840109752028790638152039700926065000441323065000471327469000831332185000081340485600731341294200091348599800141349436987tz221220t2565 th ||||| |||| 00| 0 tha d aสร 294.304bช195ก aพระครูสมุห์ชยานันท์ ธมฺมธีโร (แท่นประมูล) aการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิตของประชาชนในตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา =bAn Application of the Virtues Conductive to Benefit in Daily Life of People in Chingco Sub-District, Singhanakorn District, Songkhla Province /cพระครูสมุห์ชยานันท์ ธมฺมธีโร (แท่นประมูล) aAn Application of the Virtues Conductive to Benefit in Daily Life of People in Chingco Sub-District, Singhanakorn District, Songkhla Province aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2565 aด, 162 หน้า :bตาราง ;c30 ซม. aสารนิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิตของประชาชนในเขตตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิตของประชาชนในเขตตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมในการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิตของประชาชนในเขตตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของ Taro Yamane ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 375 คน โดยวิธีสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิตามสัดส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลเป็นการใช้แบบสอบถาม ซึ่งแบบสอบถามมีลักษณะปลายปิดและปลายเปิด นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลทั้งหมดโดยการสร้างข้อมูลลงรหัสและนำข้อมูลมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และ ANOVA และทดสอบค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé's method) ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนในเขตตำบลชิงโค อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา มีการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถ ประโยชน์ในการดำเนินชีวิตในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ค่าเฉลี่ย ("x" ̅ = 4.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ประชาชนมีการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิตทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก ได้แก่ ด้านอุฏฐานสัมปทา (ความขยันหมั่นเพียร) ด้านอารักขสัมปทา (การรักษาทรัพย์) ด้านกัลยาณมิตตตา (คบคนดีเป็นมิตร) ด้านสมชีวิตา (ความเลี้ยงชีวิตแต่พอดี) ค่าเฉลี่ย ("x" ̅ = 4.22 , "x" ̅ = 4.14, "x" ̅ = 4.21, "x" ̅ = 4.24 ตามลำดับ) 2. การเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ตามข้อมูลส่วนบุคคล พบว่า ระดับการศึกษาต่างกัน และ รายได้ต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิต แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ส่วนอีก 3 ตัวแปร ได้แก่ เพศต่างกัน,อายุต่างกัน, อาชีพต่างกัน มีการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ในการดำเนินชีวิต ไม่แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 3.  aประชาชนได้มีข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักทิฏฐธัมมิกัตถ ประโยชน์ที่ใช้แล้วจะเป็นผลในปัจจุบัน ในการดำเนินชีวิตซึ่งประกอบด้วย ด้านอุฏฐานสัมปทา(ความขยันหมั่นเพียร) รณรงค์ ชักชวนให้ประชาชนในชุมชนให้มีความขยันหมั่นเพียรประกอบอาชีพที่สุจริตมีระเบียบวินัยในตัวเอง ใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ ขยันและอดทนต่องานที่ได้รับมอบหมาย ด้านอารักขสัมปทา (การรักษาทรัพย์) จัดอบรมส่งเสริมแนะนำ โฆษณา แนวทางในการจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่าย ให้ประชาชนเห็นคุณค่าของทรัพย์ที่หามาได้ด้วยความลำบาก ให้รู้จักประหยัด อดออมรักษาทรัพย์ ด้านกัลยาณมิตตตา (คบคนดีเป็นมิตร) จัดอบรมส่งเสริมแนะนำประชาชนในหมู่บ้านให้รู้จักใช้ปัญญาในการเลือกคบแต่คนดี และให้หลีกห่างจากคนชั่ว ให้รู้จักกฎระเบียบ กติกา ข้อบังคับ รู้จักมีสัมมาคารวะต่อบุคคลตั้งแต่ระดับครอบครัวไปตลอดจนถึงผู้หลักผู้ใหญ่ในหมู่บ้าน ด้านสมชีวิตา (ความเลี้ยงชีวิตแต่พอดี) ส่งเสริมให้ประชาชนในหมู่บ้านจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ขึ้นมาเพื่อที่จะส่งเสริมวางแผนเกี่ยวกับการจัดทำรายรับ รายจ่าย ภายในครอบครัว โดยยึดหลักตามแนวทางของการดำเนินชีวิตอย่างพอเพียง aThe objectives of this thematic paper are as follows: 1) to study the application of the virtues conductive to Benefit principle in the daily life of the people in Chingco sub-district, Singhanakhon district, Songkhla province; 2) to compare the application of the virtues conductive to Benefit in the daily life of people in Chingco Sub-district, Singhanakhon district, Songkhla Province with different gender, age, education level, occupation, and income and 3). The guideline for promotion of the virtues conductive to Benefit principle in the daily life of the people in Chingco sub-district, Singhanakhon district, Songkhla province, the sample size was determined by using the table from Taro Yamane's formula. The total number of sample was 375 by random sampling method. Proportional hierarchical model the tool used to collect data is the use of questionnaires. The questionnaires are closed-ended and open-ended. Bring the collected data to analyze all the data by creating the data, encoding, and using the data to analyze the data using the software package. The statistics used in the data analysis were frequency, percentage, mean, standard deviation, t-test, and one-way ANOVA were tested for the difference in pairs by Scheffé's method. The results of the research were found as follows : 1. The people in Chingco Sub-district, Singhanakhon district, Songkhla province have applied. " the Virtues Conductive to Benefit principle " In overall is at a high level ("x" ̅ =4.20) while considering in each aspect found that they were found that the people had applied the virtues conducive to benefit principle in all 4 aspects at a high level, namely the aspect of Utthana Sampada (Diligence), the aspect of Arakkha Sampada (Property safeguarding) the aspect of Kạllayanamitra (good friends), the aspect of Samachiwita (subsistence living) average ("x" ̅ = 4.22, "x" ̅ = 4.14, "x" ̅ = 4.21, "x" ̅ = 4.24) respectively. 2. Comparison of the application of the virtues conducive to benefit principle in daily life according to personal factors, it was found that the different educational levels and different incomes, The application of the virtues conducive to benefit principle in life was different at the level of significance at 0.05, the other three variables are different sex, different ages, different careers. The application of the virtues conducive to benefit principle in daily life was different at the level of significance at 0.05. 3. The suggestions on ways to promote the application of the virtues conducive to benefit principle that has been used and will be effective in the present in life, which includes the aspect of Uttanasampatha (Diligence) to promote the campaign to persuade people in the community to be diligent, conduct a career with honesty and self-discipline, and make good use of their free time. Diligent and patient with the tasks assigned which is the basis for social the aspect of Arakkha Sampada (Property safeguarding) Organize training, promotion, guide, advertising, and guideline for accounting of income and expenses, to allow people to see the value of the wealth that they have acquired with difficulty to know how to save savings and keeping away from debt spend wisely, think before you pay. The aspect of Kạlayanamitra (good friends) (Knowing good people, friendly) trying to organize training to promote people in the village, to know how to use wisdom in choosing to associate with good people and avoid bad people, to know the rules, orders, regulations, know how to treat people from the family to the elders in the village. The aspect of Samachiwita (subsistence living), promote, campaign, and advertise for people in the village to set up a savings group to promote in regards to planning the expenditure of wealth by creating an account of income and expenses within the family by adhering to the principle of living a life of perseverance in order to live in a society aทิฏฐธัมมิกัตถ aการดำเนินชีวิต aสังคมวิทยาตามแนวพุทธศาสตร์ aMBU uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2368/12029.pdfzDownload file aCL20 anarongrit