08545nam a22002297a#450000100060000000700030000600800410000908200310005010000750008124504040015624600980056026001210065830000880077952049480086752023050581565000320812069000590815285000080821185600730821994200090829299800140830136230tz220224t2564 th ||||| |||| 00| 0 tha d aวท 294.3138bน393ก aพระนัด จารุวณฺโณ (ยีรัมย์) aการศึกษาวิเคราะห์ความเชื่อและพิธีกรรมในการทำบุญแซนโฎนตาของชาวจังหวัดสุรินทร์ =bAn Analysis Study of Belief and Rite in the Sandonta Merit Making of People in Surin Province /cพระนัด จารุวณฺโณ (ยีรัมย์) aAn Analysis Study of Belief and Rite in the Sandonta Merit Making of People in Surin Province aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2564 aซ, 139 หน้า :bภาพประกอบ, ตาราง ;c30 ซม. aวิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมการทำบุญในพระพุทธศาสนา 2) เพื่อศึกษาการทำบุญแซนโฎนตาของชาวจังหวัดสุรินทร์ และ 3) เพื่อวิเคราะห์ความเชื่อและพิธีกรรมในการทำบุญแซนโฎนตาของชาวจังหวัดสุรินทร์ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง รวบรวมข้อมูล แล้วนำเสนอผลการวิจัยด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการวิจัยพบว่า: ที่มาด้านความเชื่อของชุมชนที่มีต่อประเพณีแซนโฎนตาของชาวไทยเชื้อสายเขมร มีความเชื่อในอำนาจเหนือธรรมชาติและพลังลึกลับ โดยเฉพาะความเชื่อต่อดวงวิญญาณบรรพบุรุษ ว่ายังมีการวนเวียนและดูแลครอบครัวและสมาชิก และเชื่อว่าดวงวิญญาณของบรรพบุรุษนี้สามารถให้คุณและโทษได้แก่ครอบครัวและสมาชิกได้ และมีการยอมรับนับถือนี้ได้เป็นบ่อเกิดที่มาของประเพณีของชุมชนจนมาถึงปัจจุบัน พิธีกรรมแซนโฎนตาของชาวไทยเชื้อสายเขมร ตรงกับวันแรม 14 ค่ำเดือน 10 ของทุกปี เมื่อถึงช่วงเวลาสำคัญของประเพณี ครอบครัวและลูกหลาน พี่น้อง เครือญาติมักให้ความสำคัญกับการจัดพิธีแซน มี 3 ลักษณะ ได้แก่ (1) การจัดในบริเวณบ้านของตนเอง (2) การจัดในชุมชนเพื่อประกอบพิธีกรรม และ(3) การจัดการทำบุญในวัดเพื่ออุทิศส่วนกุศลตามแบบทางพระพุธศาสนามีขั้นตอน ได้แก่ (1) การสื่อสารถึงลูกหลานเพื่อบอกกล่าวล่วงหน้า (2) การกำหนดสถานที่ประกอบพิธี (3) เตรียมสิ่งของเพื่อเซ่นไหว้ (4) ไปทำบุญที่วัดเพื่ออุทิศส่วนกุศล มีรูปแบบ ได้แก่ การเซ่นไหว้มักเป็นการรวมตัวกับสมาชิกครอบครัวและเครือญาติเพื่อประกอบพิธีกรรมในวัน เวลา ดังกล่าว และลักษณะในการประกอบพิธีกรรมและมีรูปแบบในการจัดกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเพื่อทำบุญอุทิศตามแนวทางพระพุทธศาสนา ซึ่งจะมีสมาชิกในครอบครัวร่วมกันไปทำบุญอุทิศ และทำพิธีกรรมชักผ้าบังสุกุลให้กับผู้ตาย มีความเชื่อว่าผลบุญที่ทำจะส่งถึงดวงวิญญาณของบรรพบุรุษให้มีความสุขและปราศจากความหิวโหยและคุณค่าจากประเพณีแซนโฎนตา จะให้ความสำคัญทางด้านจิตใจ และการควบคุมจิตและประพฤติกรรมของชุมชนและสังคม aThe objectives of this thesis were : 1) to study the beliefs and rituals of making merit in Buddhism, 2) to study the Sandonta merit-making of people in Surin Province and 3) to analyze the beliefs and rituals of Sandonta making of people in Surin Province. It was qualitative research by studying the Tipitaka, commentary, books, documents, and related research, collecting data and then presented the research results by descriptive analysis. The results of this research found that On the side of the community’s beliefs towards Sandota tradition of Thai -Khmer people which belief in supernatural and mystical powers. Especially the belief in ancestral spirits, there were still having a circulation of spirit and taking care of all members in the family. And it was also believed that this ancestral spirit can give you both of benefit and blame your family and members. This recognition has been the resource of community traditions until the present-day. Sandonta rituals of Thai -Khmer people is corresponds to the 14th of waning day on every year. When it comes to the important moment of the cultures, family, and relatives often attaches importance to the arrangement of the sanctuary, divided into 3 features: (1) arrangement in the area of your own home, (2) organizing in the community for ceremonies and (3) philanthropy in temple to dedicate a charity according to the Buddhist religion included of 4 steps as follows: (1) communicating to the descendants in advance notification, (2) determining the place of worship, (3) preparing items for worship, and (4) making merit at the temple to dedicate the merit as follows : offerings were usually a gathering with family members and relatives to perform ceremonies such date and time. Including the characteristics in performing rituals and having a form of organizing Buddhist activities to make merit in accordance with the Buddhist guidelines with having family members together to make merit and perform are requisition ceremony for the deceased. There was a belief that the good. There is a belief that the merit had done will send the souls of the ancestors to be happy and free from hunger together with the value of Sandonta rituals will pay attention to psychological, mental control and behavior of community and society. aความเชื่อ aพุทธศาสนาและปรัชญา aMBU uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2324/11760.pdfzDownload file aCL18 anarongrit