07347nam a22002297a#450000100060000000700030000600800410000908200280005010000630007824502680014124600700040926001210047930000590060052046570065952015670531665000710688369000590695485000080701385600730702194200090709499800140710336215tz220218t2564 th ||||| |||| 00| 0 tha d aวท 658.3bพ523ก aพัชรินทร์ จันทร์กล่ำ aการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท =bHuman Resource Development Based on Theravada Buddhist Philosophy /cพัชรินทร์ จันทร์กล่ำ aHuman Resource Development Based on Theravada Buddhist Philosophy aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2564 aฑ, 102 หน้า :bตาราง ;c30 ซม. aวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 2) เพื่อศึกษาหลักพุทธปรัชญาเถรวาทในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 3) เพื่อวิเคราะห์การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ตามแนวพุทธปรัชญาเถรวาท ศึกษาค้นคว้าจากคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาตำราและเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องด้วยวิธีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพเอกสารโดยรวบรวมข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์เพื่อหาข้อสรุป ผลการวิจัยพบว่า การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์นั้น ควรพัฒนาทั้ง 3 ด้าน คือการพัฒนาตนให้เป็นคนที่มีศักยภาพ มีความพร้อม มีความรู้ในการปฏิบัติงาน ซึ่งเป็นเครื่องมือในการพัฒนา สมรรถนะอันจะนำไปสู่การพัฒนาคนในองค์กร การพัฒนาคนให้มีความพร้อมมีความสามารถในปฏิบัติงานได้ตามเป้าหมายที่กำหนด มีความสุขในการทำงาน การพัฒนางานเป็นผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนาตน และ พัฒนาคนในองค์กร ซึ่งจะนำไปสู่การปฏิบัติงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์จากการพัฒนาทั้ง 3 ด้านไปพร้อมกัน หลักพุทธปรัชญาเถรวาทสำหรับนำมาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นหลักธรรมที่มุ่งพัฒนาตน ได้แก่เบญจศีล-เบญจธรรม หลักธรรมที่นำมาพัฒนาคนได้แก่ภาวนา 4 และหลักธรรมที่นำมาพัฒนางานได้แก่ อิทธิบาท 4 หลักธรรมทั้ง 3 นี้ เป็นหลักธรรมที่สามารถนำมาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พัฒนาชีวิตของมนุษย์ที่เป็นขั้นเป็นตอนอย่างชัดเจน และมีความสำคัญในการพัฒนามนุษย์ให้เป็นทรัพยากรมนุษย์ที่สมบูรณ์แบบ มีศักยภาพพร้อมในการปฏิบัติงาน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จะสมบูรณ์ได้ต้องพัฒนาทั้งร่างกายและจิตใจไปพร้อมๆกัน เพราะว่าการที่จะพัฒนาตนให้ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผลนั้นบุคคลจะต้องมีศีลธรรมก่อนด้วยการทำตนให้เป็นคนดี จึงจะนำไปสู่การพัฒนาคนอื่นได้ เมื่อบุคคลในองค์กรได้รับการพัฒนาให้เป็นไปตามเป้าหมาย ก็จะเกิดการพัฒนางานให้ประสบความสำเร็จด้วยการใช้หลักพุทธปรัชญามาสนับส่งเสริมการพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพเพราะ การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยสำคัญขององค์กรทุกองค์กร aThe objectives of this thesis are: 1) to study the development of human resources, 2) to study the Thevada Buddhist Philosophy in Human Resource Development, and 3) to analyze the development of human resources based on Theravada Buddhist philosophy. The data of this qualitative research were collected from documents. The results of the study were as follows: Human resource development should come together under 3 areas; developing oneself to be potential, ready, and knowledgeable for work, developing people to be ready and able to perform tasks according to the specified goals with happiness and satisfaction, and developing work that is a consequence of personal development and human development in the organization. This will lead to the achievement of development in all three areas simultaneously. Theravada Buddhist philosophy for human resource development in self-improvement is the Five Precepts and the Five Virtues, the four principles of Bhavana for human development, and Iddhipada for work development. All these Buddhist principles are suitable for human resources development because they have clear steps in human life development. Human resources development can be complete in both physical and mental development at the same time. Self- development can be effective with having morals first, and then the achievement of person development and work development will come along. The application of Buddhist philosophy in Human resource development is necessary because human resources are significant factors of organizations. aการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ aพุทธศาสนาและปรัชญา aMBU uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2323/11756.pdfzDownload file aCL18 anarongrit