08239nam a22002417a#450000100060000000700030000600800410000908200300005010000780008024503080015824600680046626001210053430000770065552052840073252016620601665000790767869000590775785000080781685600780782485600720790294200090797499800140798334240tz200303t2562 th ||||| |||| 00| 0 tha d aวท 495.932bพ282ก aพระพรศักดิ์ ฐิตเมโธ (ปรีชา) aการศึกษาอักษรขอมที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย =bA Study on Khmer Scripts Used in Theravada Buddhism in Thailand /cพระพรศักดิ์ ฐิตเมโธ (ปรีชา) aA Study on Khmer Scripts Used in Theravada Buddhism in Thailand aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2562 aฐ, 113 หน้า :bตารางประกอบ ;c30 ซม. aวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาอักษรขอมที่ใช้ในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาอักษรขอมที่ใช้กับพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย 3) เพื่อวิเคราะห์อักษรขอมที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยศึกษาจากหนังสือ เอกสาร วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ผลการวิจัยพบว่า 1. อักษรขอมเป็น อักษรที่คนไทยได้นำมาจากรูปอักษรปัลลวะ โดยนำมาประยุกต์ใช้และมีการประดิษฐ์อักษรขึ้นมาใหม่ เริ่มใช้อักษรขอมมาตั้งแต่ก่อตั้งอาณาจักรไทยขึ้นมา เพื่อนำมาใช้เป็นของชนชาติตนเอง มีการพัฒนารูปแบบอักษรมาตามยุคตามสมัย โดยได้ใช้อักษรขอมและอักษรไทยควบคู่กันไปทั้งสองแบบ อักษรขอมมีการแยกอักษรขอมบาลีและอักษรขอมไทย ดังนั้นภาษาที่เราใช้จะมีอยู่สองภาษาคือภาษาขอมและภาษาไทย จนกระทั่งถึงในปัจจุบัน 2. อักษรขอมที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศนั้นเป็นการใช้ในพิธีการเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา เป็นบทสวดมนต์ต่าง ๆ ที่เป็นภาษาขอมบาลี บทเทศนาที่เขียนไว้บนใบลาน เป็นทั้งภาษาขอมบาลีและภาษาขอมไทย เพราะมีความเชื่อว่าอักษรขอมเป็นอักษรที่ศักดิ์สิทธิ์ เป็นของสูงซึ่งมีไว้สำหรับพุทธศาสนาเท่านั้น ดังนั้นอักษรขอมกับพระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาจึงแยกกันไม่ออกมาตั้งแต่โบราณกาล 3. อักษรขอมที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย เป็นอักษรขอมที่ได้พัฒนารูปแบบจากเดิมในอดีตจนกระทั่งมาถึงปัจจุบัน ให้เป็นรูปแบบที่อ่านง่ายเขียนง่ายกว่าเดิม เป็นที่ยอมรับและได้ใช้ศึกษาเล่าเรียนสืบทอดต่อ ๆ กันมา มีเอกสารต่าง ๆ ที่บันทึกไว้เป็นภาษาขอมอยู่มากมาย อักษรขอมที่ใช้ในพระพุทธศาสนาเถรวาทในประเทศไทย จะเขียนเป็นภาษาบาลีหรือบางทีก็เรียกว่าภาษามคธจะบันทึกเป็นภาษาขอมเท่านั้น เขียนเป็นคำสอนธรรมะ เขียนพระไตรปิฎก บทสวดมนต์ต่าง ๆ ดังนั้นแม้ว่าในปัจจุบันจะไม่มีการเรียนการสอนแบบเป็นทางการ แต่ก็มีบางวัดที่มีความรู้เรื่องอักษรขอมอยู่ก็ยังมีการสอนถ่ายทอดความรู้ให้กับผู้ที่สนใจอยู่บ้าง ซึ่งต่อไปถ้าไม่มีการสนับสนุนให้มีการเรียนการสอนหรือเผยแพร่ความรู้ก็จะต้องหายไปโดยปริยาย จึงเป็นการน่าเสียดายที่มรดกของชาติไทยที่มีมาตั้งแต่โบราณกาลมาต้องสูญสิ้นไป aThis documentary research served specific purposes : 1) to conduct a study on Khmer scripts written in Thailand, 2) to trace those in Thai Theravada Buddhism’s texts, and 3) to analyze prevailing khmer scripts in its texts and relevant writings Findings had found the following results: 1. The Khmer scripts used in Thailand originated from the Pallava scripts. Prior to founding Thai kingdom, speech communitites adapted the on-loan Khmer scripts so that the kingdom could have its own writing system. Later, they were used to transliterating orthographies of the Pali and Thai languages. 2. The transliterated Khmer scripts in Thai Theravada Buddhism’s texts existed in ceremonial manuals, mantra books and sermons in which some of them were inscribed on palm-tree leaves while Thai scripts were concurrently written. For writing shapes of the Khmer scripts, Buddhists had strongly believed that they deem sacred, highly awesome and unique. As a consequence of such beliefs, the Khmer scripts and Buddhists had been inseparable. 3. The transliterated Khmer scripts in Thai Theravada Buddhism’s texts were the simplified version, for they were easier to read, writs, recognize and hand down. Typically, the Tipitaka and mantra books in the past were orthographically transliterated into the so-called Magadha Pali language with the only use of the Khmer scripts. Nowadays, the Khmer scripts in its texts had been neglected. Nonetheless, only a handful of temples offer knowledge on literacy of the Khmer scripts to the enthusiasts. Unless there was any strong support of instructing and spreading, an access to those texts must definitely vanish. aภาษาขอมxการศึกษาวิเคราะห์ aพุทธศาสนาและปรัชญา aMBU0 uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2227/14154/index.htmlzRead Online uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2227/10325.pdfzDowload file aCL18 anarongrit