11200nam a22002537a#450000100060000000700030000600800410000908200290005010000870007924506160016624601640078226001210094630001060106752066230117352027570779665000881055365000641064169000591070585000081076485600781077285600731085094200091092399800141093233907tz191129t2560 th ||||| |||| 00| 0 tha d aวท 352.14bส282ค aพระสมศักดิ์ โฆสวโร (ผดุงรัตน์) aความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด =bVILLAGE COMMITTEES’ OPINIONS ON GOOD GOVERNANCE-BASED ADMINISTRATION AT TAMBON KAMPHAENG ADMINISTRATIVE ORGANIZATION IN KASET WISAI DISTRICT, ROI ET PROVINCE /cพระสมศักดิ์ โฆสวโร (ผดุงรัตน์) aVILLAGE COMMITTEES’ OPINIONS ON GOOD GOVERNANCE-BASED ADMINISTRATION AT TAMBON KAMPHAENG ADMINISTRATIVE ORGANIZATION IN KASET WISAI DISTRICT, ROI ET PROVINCE aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2560 aฐ, 142 หน้า :bภาพประกอบ, ตารางประกอบ ;c30 ซม. aวิทยานิพนธ์นี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) มีวัตถุประสงค์สามประการดังนี้ 1) เพี่อศึกษาความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด ของคณะกรรมการหมู่บ้านที่มีเพศ อายุ และระดับการศึกษา ต่างกัน และ 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ คณะกรรมการหมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด จำนวน 114 คน กำหนดขนาดตัวอย่างโดยใช้สูตรของทาโร ยามาเน (Taro Yamane) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าห้าระดับ โดยมีค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ทั้งฉบับเท่ากับ .98 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และสถิติอนุมานหรืออ้างอิง ได้แก่ การทดสอบค่าที (t-test) กับการทดสอบความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) หรือ F-test ในการวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากรกลุ่มเป้าหมายได้แก่ ผู้ใหญ่บ้านหรือตัวแทน จำนวน 12 คน จาก 12 หมู่บ้านในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi-structured Interview) กล้องถ่ายรูป และเทปบันทึกเสียง ผลการวิจัยพบว่า 1) ความคิดเห็นของคณะกรรมการหมู่บ้านต่อการบริหารตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน อยู่ในระดับมากทั้งหกด้าน เรียงจากด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านหลักความคุ้มค่า ด้านหลักความโปร่งใส ด้านหลักคุณธรรม ด้านหลักความรับผิดชอบ ด้านหลักการมีส่วนร่วมและด้านหลักนิติธรรม ตามลำดับ 2) ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า คณะกรรมการหมู่บ้าน ที่มีเพศ และระดับการศึกษา ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการบริหารตามหลัก ธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วนตำบลกำแพง อำเภอเกษตรวิสัย จังหวัดร้อยเอ็ดโดยรวม ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ ลำดับตามความถี่สูงไปหาต่ำ สามอันดับแรก คือ ผู้บริหารควรบริหารงานโดยยึดความถูกต้องและความต้องการของประขาชนเป็นหลัก คณะผู้บริหารและพนักงานส่วนตำบลควรสร้างจิตสำนึกที่ดีให้เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ และควรบริหารจัดการและใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดโดยคำนึงถึงหลักความประหยัดใช้ของให้เกิดความคุ้มค่าให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ส่วนรวม aThis Thesis was the mixed methods research, which consisted of three specific objectives namely; 1) to study village committees’ opinions on good governance-based administration at Tambon Kamphaeng Administrative Organization in Kaset Wisai district, Roi Et province, 2) to compare their opinions on good governance-based administration at the aforesaid area, resting upon differences in their genders, ages and educational levels and, 3) to study their suggestions and development guidelines on good governance-based administration at the aforesaid area. The research populations comprised village committees from 12 villages of Kamphaeng sub-districts in Kaset Wisai District’s authorized area, numbering 159 individuals. The sampling group was set against Taro Yamane’s table, earning 114 subjects. The instrument used for data collection was the five-rating-scale questionnaires, each of which was endowed with the reliability at 0.86. The statistical tools for computing data encompassed percentage, mean, standard deviation. The statistics used for the research incorporate: percentage, mean, standard deviation, t-test and F-test. In the qualitative research, the target population of this type consisted of villages’ headmen or representatives from from 12 villages of Kamphaeng sub-districts with a total of 12 people. All of them were the key informants who were purposely selected, one informant from each sub-district. The research tools were composed of a semi-structured interview, a camera and a tape recorder. Outcomes of the research summarized the following major findings: 1) Village committees’ opinions on good governance-based administration at Tambon Kamphaeng Administrative Organization in Kaset Wisai district, Roi Et province were comprehensively rated at the ‘more’ scales in all six aspects. In term of a single one, three aspects with the highest, lower and lowest means included those of: i) participation, ii) ethics) and iii) value of money. 2) The comparative results of residents’ opinions on its good governance-based administration in the district confirmed that variables of their genders, ages and educational levels showed no significant differences in the overall aspect. 3) Suggestions for its good governance-based administration were recommended in descending order of three frequencies that its administrators should: i) executives should be administered by the anchor and the requirements of main impacts, ii) the executives and Tambon Kamphaeng Administrative Organization’s officials should create conscience occurs in the performance of duties, iii) should manage and use the limited resources by consideration of the principal economy, cause value, and the most benefits to public. aคณะกรรมการหมู่บ้านxการบริหาร aธรรมาภิบาลxการบริหาร aรัฐศาสตร์การปกครอง aMBU0 uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2221/14098/index.htmlzRead Online uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2221/10229.pdfzDownload file aCL18 anarongrit