07971nam a22002537a#450000100060000000700030000600800410000908200310005010000750008124504220015624601220057826001210070030000400082152050000086152014510586165000730731265000910738569000590747685000080753585600780754385600730762194200090769499800140770333845tz191122t2560 th ||||| |||| 00| 0 tha d aวท 294.3013bอ579ก aพระอัศวิน วฑฺฒโน (กุยวาปี) aการศึกษาวิเคราะห์สัมมาทิฏฐิในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยตามหลักปรัชญาเถรวาท =bAn Analytical Study on Right Understanding for Creating Peace in Thai Society Following Theravada Buddhist Philosophy /cพระอัศวิน วฑฺฒโน (กุยวาปี) aAn Analytical Study on Right Understanding for Creating Peace in Thai Society Following Theravada Buddhist Philosophy aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2560 aซ, 103 หน้า ;c30 ซม. aวิทยานิพนธ์นี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ ๑) เพื่อศึกษาสัมมาทิฏฐิตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท ๒) เพื่อศึกษาการสร้างสันติสุขตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท และ ๓) เพื่อวิเคราะห์สัมมาทิฏฐิ ในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยตามหลักพุทธปรัชญาเถรวาท การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งเน้นการวิจัยทางเอกสาร โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก และจากเอกสารที่เกี่ยวข้องกับหลักคำสอนเรื่องสัมมาทิฏฐิที่ปรากฏในพุทธปรัชญาเถรวาท ผลการวิจัยพบว่า สัมมาทิฏฐิเป็นองค์ประกอบข้อแรกของมรรคมีองค์ ๘ ซึ่งเป็นองค์ ต้นทางแห่งมรรค โดยที่องค์มรรคอีกทั้ง ๗ ข้อ ก็มีคำว่า สัมมา อยู่ข้างหน้าทุกองค์ ๒ และจะเห็นว่า “สัมมา” แปลว่า “ชอบ” หรือ “ถูก” และ “ทิฏฐิ” แปลว่า “ความเห็น” สัมมาทิฏฐินั้นเปรียบประดุจแกนนำ หรือในมุมของปฏิจจสมุปบาท ถ้ามีสัมมาทิฏฐิเป็นตัวนำวิถีชีวิตก็จะดำเนินไปในสายดับทุกข์ (นิโรธวาร) หรือ ปฏิบัติตามมรรคมีองค์ ๘ การสร้างสันติสุขมี ๒ ปัจจัย ได้แก่ (๑) ปัจจัยภายนอก สำหรับคนสามัญนั้นต้องอาศัยการชี้แนะจากคนดี มีปัญญา มีคุณธรรม ทำหน้าที่ช่วยเหลือแนะนำสั่งสอนให้ผู้อื่นมีความเห็นถูกและคล้อยไปตามคำแนะนำชักจูงที่ฉลาดได้ง่ายและจะต้องฝึกหัดให้สามารถใช้ความคิดอย่างถูกวิธีด้วยตนเองได้ เป็นกัลยาณมิตรโดยแท้มี ๒ ด้าน คือ (๑) คุณสมบัติที่แสดงออกภายนอก คือ คุณสมบัติมิตรที่ดี ๗ ได้แก่ ๑) มิตรมีใจงามชนิดอุปการะ ๒) ทมะ ๓) มิตรมีใจงามชนิดมีใจรัก ๔) สัจจะ ๕) ขันติ ๖) มิตรมีใจงามชนิดร่วมทุกข์ร่วมสุข ๗) มิตรมีใจงามชนิดแนะนำประโยชน์ (๒) ปัจจัยภายใน ได้แก่ ฝึกหัดอบรม กาย วาจา จิตใจ และปัญญาให้ยิ่งขึ้นไปจนบรรลุจุดหมายสูงสุด คือ พระนิพพาน ผลการวิเคราะห์สัมมาทิฏฐในการสร้างสันติสุขในสังคมไทยนั้น ก่อให้เกิดความเห็นถูก เห็นชอบซึ่งต้องตั้งต้นด้วยความเห็นชอบเสมอ อีกทั้งเพื่อให้มีความสมดุล ในด้านต่างๆเช่น ด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวางทั้งด้านการศึกษา สังคม สิ่งแวดล้อมจากวัฒนธรรมอื่นที่หลั่งไหลเข้ามาจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี aThis thesis serves the purposes: 1) to study Right Understanding in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study creating peace in Theravada Buddhist Philosophy, and 3) to analyze right understanding to create peace of Thai’s society in Theravada Buddhist Philosophy. It has been carried out with qualitative research methodology, of which its sources include The Tipitaka, relevant researches and other texts to supplement it. The results of the research were found that: The righteous thoughts are the first element of the eight paths of the path. By the 7 other paragraphs, the word is right in front of all 2, and see that “right” means “right” or “right” and “point” means “opinion”. There are two levels of peace building: (1) external factors For ordinary people, it requires the guidance of the good, the wise, the virtuous, the help, the instruction, the instruction to others, the right opinion, and follow the instructions to induce the smart and easy to practice to be able to use the right thinking. The analysis of the expected results when applied Sammathit to create peace in Thai society. It is for the opinion to be approved, which must always be initiated with approval. Also to be balanced. In such areas as education, social and environmental, to be ready to accommodate the rapid and widespread change in education, society, environment, from other cultures flowing from the outside world as well. aสัมมาทิฏฐิxการวิเคราะห์ aการสร้างสันติภาพxการวิเคราะห์ aพุทธศาสนาและปรัชญา aMBU0 uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2223/14123/index.htmlzRead Online uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2223/10261.pdfzDownload file aCL18 anarongrit