13457nam a22002657a#450000100060000000700030000600800410000908200310005010000810008124504320016224601070059426001210070130000770082252078840089952003730878352037150915665000531287165000531292469000321297785000081300985600781301785600731309594200091316899800141317733414tz190918t2562 th ||||| |||| 00| 0 tha d aวท 294.3186bป467ค aพระปรีชา จิรปญฺโญ (แตงสมุทร) aความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาสในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร =bThe Opinion of Monks towards Administrative Roles of the Temple Abbots in Nong Khaem District, Bangkok /cพระปรีชา จิรปญฺโญ (แตงสมุทร) aThe Opinion of Monks towards Administrative Roles of the Temple Abbots in Nong Khaem District, Bangkok aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2562 aฑ, 128 หน้า :bตารางประกอบ ;c30 ซม. aวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังต่อไปนี้ 1) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาส ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทด้านการปกครองของเจ้าอาวาสในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานครที่มี อายุพรรษา ระดับการศึกษา และระยะเวลาที่พักอาศัย แตกต่างกัน และ3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะแนวทางการปกครองของเจ้าอาวาสในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) โดยการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Specified Sampling) คือ การเก็บข้อมูลแบบสอบถามจากพระสงฆ์ ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร จนครบตามจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่ต้องการ จนได้ครบจำนวน 122 รูป มีค่าความเชื่อมั่นทั้งฉบับเท่ากับ 0.99 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ 1) สถิติ ค่าความถี่ (ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) และการทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) เมื่อพบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 จะเปรียบเทียบหาค่าความแตกต่างเป็นรายคู่ด้วยวิธีการของเชฟเฟ่ (Scheffé) ผลการวิจัย พบว่า 1) พระสงฆ์มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาส ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร โดยรวมทั้ง 2 ด้าน อยู่ในระดับมาก จำแนกแต่ละด้าน พบว่า ด้านการปกครองตามหลักพระธรรมวินัย และด้านการปกครองตามกฎหมายคณะสงฆ์ อยู่ในระดับมาก 2) พระสงฆ์ที่มี อายุพรรษา และการศึกษา ต่างกัน มีความคิดเห็นต่อบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาส ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร โดยรวมไม่แตกต่างกัน แต่พระสงฆ์ที่มีระยะเวลาที่พักอาศัยต่างกัน มีความคิดเห็นเกี่ยวกับบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาส ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) ข้อเสนอแนะความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาส ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร ด้านการปกครองตามหลักพระธรรมวินัย ได้แก่ ควรใช้ช่วงเวลาหลังจากการลงอุโบสถกรรมฟังพระปาติโมกข์ทุกกึ่งเดือน ในการอบรมสั่งสอนการประพฤติปฏิบัติตนตามหลักพระธรรมวินัยแก่พระภิกษุในปกครอง และ ด้านการปกครองตามกฎหมายคณะสงฆ์ ได้แก่ ควรเผยแพร่เนื้อหาในพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ ข้อบังคับ และกฎมหาเถรสมาคมให้พระภิกษุและสามเณรในปกครองได้รับทราบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้บรรพชา/อุปสมบทใหม่ 4) ผลการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญเกี่ยวกับความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อบทบาทการปกครองของเจ้าอาวาส ในเขตหนองแขม กรุงเทพมหานคร 1) การปกครองตามพระธรรมวินัยเป็นหัวใจของงานคณะสงฆ์ ถือเป็นภารกิจสำคัญที่สุดของคณะสงฆ์ เพราะเป็นการดูแลความเป็นระเบียบเรียบร้อยของการอยู่ร่วมกันในสังคมสงฆ์ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันการปกครองคณะสงฆ์ถือเป็นหลักมากสุด และเมือการปกครองฝ่ายบ้านเมืองพัฒนา ขึ้นจึงมีการตราพระราชบัญญัติคณะสงฆ์เป็นกฎหมายเพื่อส่งเสริมให้การปฏิบัติตามพระธรรมวินัยมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น รวมถึงการะกฎมหาเถรสมาคม ระเบียบ คำสั่ง ข้อบังคับต่าง ๆ เพื่อนำมาใช้เป็นแนวปฏิบัติในการบริหารงานคณะสงฆ์ 2) การปกครองตามกฎหมายคณะสงฆ์ เป็นกฎหมายที่ตราขึ้นเพื่อให้อำนาจในการจัดระบบการปกครองคณะสงฆ์ จึงทำให้พระสงฆ์ทุกรูป และไวยาวัจกรที่ได้รับการแต่งตั้งโดยถูกต้อง มีฐานะเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาเช่นเดียวกับข้าราชการของแผ่นดินด้วย a และในการปฏิบัติหน้าที่ของพระสงฆ์ทุกระดับต้องเป็นไปโดยถูกต้อง สะดวก รวดเร็ว และเป็นธรรม ซึ่งในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามหลักการ aThis thesis had the following objectives: 1) to study the opinions of the monks on the administrative role of the abbot in Nongkhaem District, Bangkok 2) to compare the opinions of the monks on the administrative role of the abbot in Nong khaem Bangkok with different age, education and the length of time residence, and 3) to study the administrative guidance of the abbot in Nongkhaem, Bangkok. A non-probability sampling method by specific sampling was used to collect data from the monks in Nongkhaem District, Bangkok, according to the number of samples of the monks needed until the total number of 122 monks. It had the whole confidence value of 0.99. The statistics used in data analysis were statistics of frequency (percentage), mean ( ) and standard deviation (SD) and test by One-Way ANOVA was used when it was found significant statistical differences at the level of 0.05, and comparing the differences in pairs was used by the Scheffé method. The results of the research were found as follows: 1) The monks’ opinions about the administrative role of the abbot in Nong khaem District, Bangkok, were in the whole view of three aspects at a high level. Considering each aspect, it was found that in the administration according to the principles of Dhamma and Vinaya and the legal administration of the Sangha, they were at a high level. 2) Monks with different age of being a monk, and education had no different opinions in the whole view on the role of the abbot in Nongkhaem District, Bangkok. But monks with different periods of residence had opinions about the administrative role of the abbot in Nongkhaem District, Bangkok, differing significantly at the level of 0.05. 3) Recommendations of the opinions of monks on the role of the abbot in Nongkhaem District, Bangkok, regarding the administration according to the principle of Dhamma and Vinaya, were that it should be used time after the monks’ listening to the recitation of Patimokkha in every half month, in training and teaching of behaviors in accordance with the principles of Dhamma and Vinaya to monks under the administration; and in the aspect of the legal administration of the Sangha, it should make known the content of the Sangha Act, the Sangha Regulations and Rules for the monks and novices under administration, especially for the newly ordinated ones. 4) Results of interviewing key informants about the opinions of the monks on the role of the abbot in the Nongkhaem District, Bangkok, were as follows: (1) The administration according to Dhamma and Vinaya was the main concern of the Buddhist monks’ work. It was considered to be the most important mission of the monks, because it was about the orderliness of living together in the monastic society. From the past to the present, the administration of the Sangha according to Dhamma and Vinaya had been considered to be the most important principle. When the government of the country was developed and there were the Act of the Sangha for the purposes of enhancing the monks to strictly practice according to Dhamma and Vinaya, as well as the Rules of The Sangha Supreme Council, regulations, orders, rules and regulations to be used as guidelines in the administration of the Sangha. (2) Administration by administrative law of the Sangha was a law enacted to empower the administration of the Sangha administration system. It therefore made monks and laymen who worked for the Sangha’s affairs in the temples and were appointed legally had a legal status as a government officials under the Penal Code, as well as civil servants of the land, and in performing the duties of monks at all levels it should be accurate, convenient, fast and fair. aการปกครองคณะสงฆ์ aการปกครองพระสงฆ์ aการปกครอง aMBU0 uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2221/14099/index.htmlzRead Online uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2221/10228.pdfzDownload file aCL18 anarongrit