10165nam a22002537a#450000100060000000700030000600800410000908200280005010000450007824505060012324601560062926001210078530000770090652060520098352025540703565000470958965000620963669000320969885000080973085600780973885600720981694200090988899800140989733368tz190912t2562 th ||||| |||| 00| 0 tha d aสร 363.6bก252ก aกรีฑา คงพยัคฆ์ aการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช =bAn Application of Sangahavatthu Dhamma in Public Service Providing of Chandee Sub-District Municipality, Chawang District, Nakhon Si Thammarat Province /cกรีฑา คงพยัคฆ์ aAn Application of Sangahavatthu Dhamma in Public Service Providing of Chandee Sub-District Municipality, Chawang District, Nakhon Si Thammarat Province aนครปฐม :bมหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย,c2562 aธ, 127 หน้า :bตารางประกอบ ;c30 ซม. aสารนิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช 2) เพื่อเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช ของประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้ต่อเดือนต่างกัน และ 3) เพื่อรวบรวมข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างตาราง Krejcie and Morgan จากจำนวนประชากรทั้งหมด จำนวน 7,448 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 364 คน ประชากรที่ใช้ในการศึกษา คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 5 หมู่บ้าน 12 ชุมชน จำนวนทั้งสิ้น 7,448 คน เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบปลายปิดและปลายเปิด วิเคราะห์ข้อมูลด้วย โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ โดยหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า 1) การประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช โดยรวมทั้ง 4 ด้าน อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นราย ด้านโดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย พบว่า ด้านปิยวาจา (การพูดจาด้วยถ้อยคำไพเราะ) มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือด้านทาน (การเสียสละ) ด้านสมานัตตตา (ความเป็นผู้สม่ำเสมอ) และ ด้านอัตถจริยา (การช่วยเหลือกัน) มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด ตามลำดับ 2) ผลการเปรียบเทียบการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราชของประชาชนที่มี เพศต่างกัน ไม่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ประชาชนที่มีอายุ และอาชีพต่างกัน แตกต่างกันอย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ส่วนประชาชนที่มีระดับการศึกษาและรายได้ต่อเดือนต่างกัน แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 3) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางส่งเสริมการประยุกต์ใช้หลักสังคหวัตถุธรรมในการให้บริการสาธารณะของเทศบาลตำบลจันดี อำเภอฉวาง จังหวัดนครศรีธรรมราช มีผู้เสนอแนะมากที่สุดคือ ด้านอัตถจริยา การช่วยเหลือกัน) ได้แก่ ข้อที่ว่า เทศบาลตำบลจันดี ควรจัดกิจกรรมที่ส่งเสริมความใกล้ชิดระหว่างเจ้าหน้าที่และประชาชน เช่น การทำบุญตักบาตรร่วมกันในวันสำคัญทางศาสนา เป็นต้น aThe objectives of this thematic paper were as follows: 1) To study an application of sangahavatthu dhamma in public service providing of chandee sub-district municipality, chawang district, nakhon si thammarat province. 2) To compare an application of sangahavatthu dhamma in public service providing of chandee sub-district municipality, chawang district, nakhon si thammarat province in terms of sexes, ages, degrees of education, occupations and monthly incomes as differently. And 3) To study the suggestion to promote an application of sangahavatthu dhamma in public service providing of chandee sub-district municipality, chawang district, nakhon si thammarat province The population were composed of people in Jandee sub district municipality, Chawang district, Nakhon Si Thammarat province totally 7,448 persons, sample size according to the table of R.V. Krejcie and D.W.Morgan, got the sample at the number of 364 persons, the instrument for data collection was questionnaire both closed and open ended question, The statistics were analyzed as follows, frequency, percentage, arithmetic mean, standard deviation, t–test and F-test. The findings were as follows. 1) An application of sangahavatthu dhamma in public service providing of chandee sub-district municipality, chawang district, nakhon si thammarat province by overviews in four aspects are at high level, while consider in each aspects from more to less find that the aspect of Piyavaca(politespeech) is the highest mean and follow up the aspect of Dana (giving), the aspect of Samanattata (consistently) and the aspect of Atthacariya (helping) is lowest mean respectively. 2) The comparative result of application of sangahavatthu dhamma in public service providing of chandee sub-district municipality, chawang district, nakhon si thammarat province in terms of sexes find that there are not different as statistically significance at .05.in term of ages and occupations find that there are different as statistically significance at .001. degrees of education and monthly incomes find that there are different as statistically significance at .001. 3) The suggestion on promote in application of sangahavatthu dhamma in public service providing of chandee sub-district municipality, chawang district, nakhon si thammarat province find that the aspect of Atthacariya is the highest frequency i.e. the municipality should provide activity for relationship between official and people ex. give alms to a Buddhist monk etc.  aสังคหวัตถุธรรม aการให้บริการสาธารณะ aการปกครอง aMBU0 uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2193/13876/index.htmlzRead Online uhttp://opac.mbu.ac.th/MyResearch/pfile/2193/9772.pdfzDownload file aCL20 anarongrit