Search results

29 results in 0.05s

หนังสือ

    สารคดีรางวัลยอดเยี่ยม นายอินทร์อะวอร์ด ประจำปี 2546
Note: สารคดีรางวัลยอดเยี่ยม นายอินทร์อะวอร์ด ประจำปี 2546
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม) การจัดการศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2551
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
Note: ฉบับอัดสำเนา, สารนิพนธ์ (ศน.ม.) สาขารัฐศาสตร์การปกครอง--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556
หนังสือ

    วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาหน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า หน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อศิษย์ ดังนี้ 1) การแนะนำดี 2) ให้เรียนดี 3) บอกศิษย์ด้วยดีด้วยศิลปวิทยาทั้งหมด 4) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง และ 5) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย หน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อครูอาจารย์ ดังนี้ 1) ลุกขึ้นต้อนรับ 2) เข้าไปคอยรับใช้ใกล้ชิด 3) เชื่อฟังคำสั่งสอน 4) ปรนนิบัติรับใช้ และ 5) ศึกษาหรือเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาจารย์และศิษย์ที่ดีตามหน้าที่ในทางพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้ที่มีความเสียสละเวลาที่เป็นส่วนตัวของตนเอง พร้อมยอมมอบเวลาให้กับศิษย์ได้ตลอดเวลา ด้วยความรักความเมตตากรุณาต่อศิษย์ อยากเห็นศิษย์ของตนเองสำเร็จการศึกษาและนำวิชาความรู้ที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอาชีพการงานที่ใช้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ทั้งในส่วนของกิริยามารยาทในการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม ทั้งศิษย์ต้องมีความกตัญญูรู้คุณของครูอาจารย์ ด้วยการประพฤติตัวเป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรมของสังคมด้วย
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาหน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท 2) เพื่อศึกษาหน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท และ 3) เพื่อวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากพระไตรปิฎก อรรถกถา หนังสือ เอกสาร งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และอื่นๆ ผลการศึกษาพบว่า หน้าที่ของอาจารย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อศิษย์ ดังนี้ 1) การแนะนำดี 2) ให้เรียนดี 3) บอกศิษย์ด้วยดีด้วยศิลปวิทยาทั้งหมด 4) ยกย่องให้ปรากฏในเพื่อนฝูง และ 5) ทำความป้องกันในทิศทั้งหลาย หน้าที่ของศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ การปฏิบัติตามหน้าที่ของตนต่อครูอาจารย์ ดังนี้ 1) ลุกขึ้นต้อนรับ 2) เข้าไปคอยรับใช้ใกล้ชิด 3) เชื่อฟังคำสั่งสอน 4) ปรนนิบัติรับใช้ และ 5) ศึกษาหรือเรียนศิลปวิทยาด้วยความเคารพ ผลการวิเคราะห์หน้าที่ของอาจารย์และศิษย์ในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ ผู้ที่ได้ชื่อว่าเป็นอาจารย์และศิษย์ที่ดีตามหน้าที่ในทางพระพุทธศาสนา ต้องเป็นผู้ที่มีความเสียสละเวลาที่เป็นส่วนตัวของตนเอง พร้อมยอมมอบเวลาให้กับศิษย์ได้ตลอดเวลา ด้วยความรักความเมตตากรุณาต่อศิษย์ อยากเห็นศิษย์ของตนเองสำเร็จการศึกษาและนำวิชาความรู้ที่ได้รับนั้นไปประยุกต์ใช้กับการดำเนินชีวิตประจำวัน ทั้งในด้านอาชีพการงานที่ใช้เลี้ยงตนเองและครอบครัว ทั้งในส่วนของกิริยามารยาทในการอยู่ร่วมกับคนอื่นในสังคม ทั้งศิษย์ต้องมีความกตัญญูรู้คุณของครูอาจารย์ ด้วยการประพฤติตัวเป็นคนดีมีความรู้คู่คุณธรรมของสังคมด้วย
The objectives of this thesis were : 1) to study the duty of teachers in Theravada Buddhist philosophy, 2) to study the duty of students in Theravada Buddhist philosophy and 3) to analyze the duty of teachers and students in Theravada Buddhist philosophy which was a qualitative research by studying the Tripitaka, commentaries, books, documents, related research and another. The results of research found that 1) The duty of teachers in Theravada Buddhist philosophy were to perform their duty to their students as follows: 1) giving good advice, 2) studying well, 3) teaching students well with all the arts, 4) praising them to their friends and 5) making defenses in all directions. 2) The duty of the disciples in Theravada Buddhist philosophy was to perform their duty to teachers as follows: 1) getting up to welcome, 2) serving closely, 3) obeying the instruction, 4) serving and 5) studying all the arts with respect. 3) The results of an analysis of the duty of teachers and students in Theravada Buddhist philosophy were who known as good teachers and students according to their duties in Buddhism must be a person who has sacrificed their own private time at any time with love and kindness towards the disciples. Yearning to appreciate the achievements of the disciples and be able to apply the knowledge gained in daily life. Both in terms of career that were used to support themselves and their families, the etiquette of social coexistence, gratitude to the teachers by behaving a good person with knowledge and morality of society. Keywords : Duty, Teachers and students, Theravada Buddhist philosophy
หนังสือ

    ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554
ฉบับอัดสำเนา, วิทยานิพนธ์ (ศน.ม.) สาขาวิชาพุทธศาสน์ศึกษา--มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย, 2554