Search results

1 results in 0.03s

... 2563

หนังสือ

    การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลัก ธรรม สัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ความต้องการจำเป็น โดยรวมมีค่า เฉลี่ย = 0.18 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4, ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 มีค่า PNImodified = 0.19 ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ค่า PNImodified = 0.18 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่สำคัญคือผู้บริหารมีความเที่ยงธรรมไม่เอนเอียงต่อความไม่ชอบหรือชอบ ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาท รักษาผลประโยชน์และปกป้องผู้บังคับบัญชาด้วยความเป็นธรรม กำหนดนโยบายให้ชัดเจนและกำกับติดตาม
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน และสภาพที่พึงประสงค์ภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 2) เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์การทำงาน 3) เพื่อศึกษาข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ศูนย์ส่งเสริมประสิทธิภาพการศึกษาอำเภอเมืองร้อยเอ็ด สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การ ศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จำนวน 364 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัจจุบันภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ส่วนสภาพที่พึงประสงค์ โดยรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากค่าเฉลี่ยสูงสุดไปต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 รองลงมา คือ ด้านหลักการครองตนใช้หลัก ธรรม สัปปุริสธรรม 7 ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4 ความต้องการจำเป็น โดยรวมมีค่า เฉลี่ย = 0.18 เมื่อพิจารณาด้านที่มีความต้องจำเป็นสูงที่สุดไปหาต่ำสุด คือ ด้านหลักการครองคนใช้หลักธรรมพรหมวิหาร 4, ด้านหลักการครองงานใช้หลักธรรม อิทธิบาท 4 มีค่า PNImodified = 0.19 ด้านหลักการครองตนใช้หลักธรรมสัปปุริสธรรม 7 ค่า PNImodified = 0.18 2) เปรียบเทียบภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา จำแนกตาม เพศ ตำแหน่ง ระดับการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน ไม่แตกต่างกัน 3) ข้อเสนอแนะภาวะผู้นำตามแนวพุทธศาสตร์ของผู้บริหารสถานศึกษา ที่สำคัญคือผู้บริหารมีความเที่ยงธรรมไม่เอนเอียงต่อความไม่ชอบหรือชอบ ไม่ดำรงตนอยู่ในความประมาท รักษาผลประโยชน์และปกป้องผู้บังคับบัญชาด้วยความเป็นธรรม กำหนดนโยบายให้ชัดเจนและกำกับติดตาม
The purposes of this study were to 1) to study and desirable condition on Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 2) to compare Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 classified by the difference of gender, position, education and experience 3) to study on recommenda-tions for Buddhist Approach Leadership of School Administrators at Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1. The samples were 364. The instruments used for collecting data were rating scale questionnaire with 5 levels. The results of this study found that: 1)Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 overall was at a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with principles of occupation on Principle of Itt Baht 4, principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 and principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4. Desirable condition overall was at a high level. When considering each side, arranged from the highest to the lowest, with principles of occupation on Principle of Itt Baht 4, principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 and principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4. Need Overall there is an average PNImodified =0.18, principles of occupying people Using the principle of Brahma Vihara 4, principles of occupation on Principle of Itt Baht 4 PNImodified = 0.19 and principles of self-possession Using the principle of Sapphuristhamma 7 PNImodified =0.18 2)Compare Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1 classified by the difference of gender, position, education and experience Overall was no different. 3)Study on recommendations for Buddhist Approach Leadership of School Administrators At Roi Et Education Efficiency Promotion Center Under Elementary Educational Service Area Office 1. Executives must be generous. Being fair and not inclined to dislike or like, prudence, does not live in negligence, maintain interests and protect supervisors with fairness. Establish clear policies and monitor them.