Search results

1 results in 0.02s

หนังสือ

    การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 2) พัฒนารูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้พิพากษาที่เป็นผู้บริหารระดับอธิบดี/รองอธิบดี และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะ/ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล จำนวน 442 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 3) แบบประเมินและรับรองรูปแบบ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล พบว่า การบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การนำองค์การ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) การนำองค์การ และ 1.2) การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม 2) การวางแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) การจัดทำยุทธศาสตร์ และ 2.2) การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ 3) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3.2) การสร้างความผูกพัน 4) การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของสถาบัน 4.2) การจัดการความรู้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) การมุ่งเน้นบุคลากร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 5.1) ความผูกพันของบุคลากร และ 5.2 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร 6) การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 6.1) กระบวนทำงาน และ 6.2) ประสิทธิผลการปฏิบัติการ และ 7) ผลลัพธ์การบริหาร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 7.1) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 7.2) ผลลัพธ์ด้านงบประมาณการเงินและการเติบโต 7.3) ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.4) ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 7.5) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (คุณภาพประสิทธิภาพต้นทุน) และ 7.6) ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2.
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 2) พัฒนารูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล และ 3) ประเมินและรับรองรูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล โดยใช้วิธีการวิจัยแบบผสมผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ ผสมผสานระหว่างวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) และวิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้พิพากษาที่เป็นผู้บริหารระดับอธิบดี/รองอธิบดี และผู้พิพากษาหัวหน้าคณะ/ผู้พิพากษาหัวหน้าศาล จำนวน 442 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล มีจำนวน 3 ชุด คือ 1) แบบสัมภาษณ์ชนิดมีโครงสร้าง 2) แบบสอบถามระดับการปฏิบัติที่เกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล 3) แบบประเมินและรับรองรูปแบบ ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลในปีพุทธศักราช 2562 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (Confirmatory Factor Analysis : CFA) และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาองค์ประกอบเกี่ยวกับการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล พบว่า การบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้อง 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) การนำองค์การ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1.1) การนำองค์การ และ 1.2) การกำกับดูแลองค์การและความรับผิดชอบต่อสังคม 2) การวางแผนยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 2.1) การจัดทำยุทธศาสตร์ และ 2.2) การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ 3) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 3.1) สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย และ 3.2) การสร้างความผูกพัน 4) การวัด วิเคราะห์ และการจัดการความรู้ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 4.1) การวัด การวิเคราะห์ และการปรับปรุงผลการดำเนินการของสถาบัน 4.2) การจัดการความรู้สารสนเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ 5) การมุ่งเน้นบุคลากร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 5.1) ความผูกพันของบุคลากร และ 5.2 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร 6) การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 6.1) กระบวนทำงาน และ 6.2) ประสิทธิผลการปฏิบัติการ และ 7) ผลลัพธ์การบริหาร ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 7.1) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 7.2) ผลลัพธ์ด้านงบประมาณการเงินและการเติบโต 7.3) ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.4) ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 7.5) ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการและการจัดการห่วงโซ่อุปทาน (คุณภาพประสิทธิภาพต้นทุน) และ 7.6) ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 2.
ผลการพัฒนารูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล พบว่า รูปแบบการบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรมเพื่อพัฒนาผู้พิพากษาหัวหน้าศาล มีองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องเป็นรูปแบบเชิงระบบสามด้าน ได้แก่ 1) ด้านปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1.1) หลักไตรสิกขา 1.2) หลักพรหมวิหาร และ 1.3 หลักสูตรผู้พิพากษาผู้บริหารในศาลชั้นต้น 2) ด้านกระบวนการ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก โดยเรียงลำดับตามน้ำหนักความสำคัญ ได้แก่ 2.1) การมุ่งเน้นบุคลากร 2.2) การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ 2.3) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 2.4) การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วน 2.5) การนำองค์การ และ 2.6) การวางแผนยุทธศาสตร์ 3) ด้านผลลัพธ์การบริหาร มี 1 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ ผลลัพธ์การบริหารของสถาบันพัฒนาข้าราชการฝ่ายตุลาการศาลยุติธรรม 3. ผลการประเมินและรับรองรูปแบบ พบว่า โดยภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (x ̅ = 4.64) ผ่านเกณฑ์การประเมิน โดยผู้เชี่ยวชาญและผู้ทรงคุณวุฒิรับรองรูปแบบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น
The purposes of this study were: 1) to study the administrative factors of the Judicial Training Institute for developing chief judges, 2) to develop the administrative model of the Judicial Training Institute for developing chief judges, and 3) to assess and validate the developed administrative model of the Judicial Training Institute for developing chief judges. The mixed research methods were used in the study. The 442 samples of this study included chief justices, deputy chief justices, presiding judges and chief judges. The research instruments used for data collection consisted of; 1) structured interview form, 2) questionnaire, and 3) assessment and validation form. The data were collected in 2019 and then analzyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation, confirmatory factor analysis (CFA), and content analysis by Lisrel Program. The results were shown as follows: 1. The administrative elements for developing chief judges of the Judicial Training Institute have 7 fundamental related elements; 1) organizational leadership, composed of 2 subelements; 1.1) leadership and 1.2) organizational supervision and social responsibility, 2) strategic planning, composed of 2 subelements; 2.1) strategic thinking and 2.2) strategy implementation, 3) customer and stake-holder focus, composed of 2 subelements; 3.1) information of the customerand stake-holder and 3.2) customer engagement, 4) measurement, analysis and knowledge management, composed of 2 subelements; 4.1) measurement, analysis and improvement of organizational performance and 4.2) management of information knowledge and technology, 5) workforce focus, composed of 2 subelements; 5.1) workforce engagement and 5.2) workforce environment, 6) operation focus, composed of 2 subelements; 6.1) work processes and 6.2) operational effectiveness, and 7) results based management, composed of 6 subelements; 7.1) operation effectiveness, 7.2) budget and growth, 7.3) customer and stake-holder focus, 7.4) organizational leadership and supervision, 7.5) process effectiveness and supply chain management (quality, efficiency, and cost), and 7.6) workforce focus. 2. The development results of the administrative model of the Judicial Training Institution for developing chief judges showed that the developed model conformed with empirical data and was a systematic model comprised of; 1) input, containing 3 elements; 1.1) The Threefold Training, 1.2) Four Sublime States of Mind, 1.3) Executive Judges in Trial Court Course, 2) process, containing 6 elements listed in order of significance as follows: 2.1) workforce focus, 2.2) operating system focus, 2.3) measurement, analysis, and knowledge management, 2.4) customer and stake-holder focus, 2.5) organizational leadership, 2.6) strategic planning, and 3) output containing administrative output of the Judicial Training Institution. 3. The result of model assessment showed that the total average mean was at the highest level (x ̅ = 4.64), which passed the specified criterion. Thus, it can be concluded that the developed model was approved and certified by the experts.