Search results

1 results in 0.03s

หนังสือ

    การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัญหาการนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการนำหลักอธิษฐานธรรมสู่การดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 6 กลุ่ม จำนวน 20 คน แล้วทำการจัดหมวดหมู่และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ โดยนำทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวิเคราะห์และตีความ แล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของการเขียนเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. การนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง พบว่า เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างเป็นระบบด้วยปัญญาของปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการสร้างองค์ความรู้ สร้างอาชีพ ผู้สูงอายุทำตนเป็นที่น่าเคารพนับถือมีความจริงใจไม่ยึดมั่นถือมั่นในวัยของตนพร้อมรู้จักปล่อยวาง รู้จักใช้วัตถุอามิสและบุญทานอย่างมีระบบด้วยการยินดีเข้าวัดสู่การปฏิบัติธรรม เข้าสู่สังคมอย่างเข้าใจข่มใจไม่ก่อให้เกิดโรคทางกายทางใจ ไม่รู้สึกโดดเดี่ยวหรือเหงาอันเป็นวัยแห่งการสร้างประโยชน์ต่อตนเองและรุ่นหลังอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ปัญหาการนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง พบว่ามีปัจจัยหลาย ๆ ด้านประกอบกัน ได้แก่ วัยวุฒิ คุณวุฒิ สถานภาพความเป็นอยู่และสถานภาพทางเศรษฐกิจของผู้สูงอายุก่อเกิดความยึดมั่นถือมั่น ไม่ยอมรับความจริงของกาลเวลา สังขารและความรู้ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ ไม่ค่อยจะปล่อยวางกับชีวิตเกิดความกังวล ปัญหาด้านร่างกายและจิตใจ ปฏิบัติหน้าที่ของตนไม่เหมาะสมกับวัยของตนจนเกิดปัญหาต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดถึงกลุ่มนักเรียนผู้สูงอายุด้วยกัน 3. แนวทางการนำหลักอธิษฐานธรรมสู่การดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง พบว่าการนำหลักภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่องค์ความรู้เพิ่มปัญญา ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุลดความยึดมั่นถือมั่นเข้าใจหลักความเป็นจริงของสัจจะธรรมทำตนให้เป็นที่น่านับถือ รู้จักปล่อยวางสร้างหลักประกันของตนให้มากที่สุดด้วยการเข้าวัดปฏิบัติธรรมมุ่งสู่วัยข่มใจ วัยวิเวก วัยเหงาตลอดถึงเข้าสู่วัยที่ห่างโรคซึมเศร้า โรคโดดเดี่ยวด้วยการยินดีนำหลักอธิษฐานธรรมประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาปัญหาการนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อเสนอแนวทางการนำหลักอธิษฐานธรรมสู่การดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง ตำบลเวียง อำเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูลจำนวน 6 กลุ่ม จำนวน 20 คน แล้วทำการจัดหมวดหมู่และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้ โดยนำทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาประกอบการวิเคราะห์และตีความ แล้วนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบของการเขียนเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า: 1. การนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง พบว่า เกิดความรู้ความเข้าใจอย่างเป็นระบบด้วยปัญญาของปราชญ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วยการสร้างองค์ความรู้ สร้างอาชีพ ผู้สูงอายุทำตนเป็นที่น่าเคารพนับถือมีความจริงใจไม่ยึดมั่นถือมั่นในวัยของตนพร้อมรู้จักปล่อยวาง รู้จักใช้วัตถุอามิสและบุญทานอย่างมีระบบด้วยการยินดีเข้าวัดสู่การปฏิบัติธรรม เข้าสู่สังคมอย่างเข้าใจข่มใจไม่ก่อให้เกิดโรคทางกายทางใจ ไม่รู้สึกโดดเดี่ยวหรือเหงาอันเป็นวัยแห่งการสร้างประโยชน์ต่อตนเองและรุ่นหลังอย่างมีประสิทธิภาพ 2. ปัญหาการนำหลักอธิษฐานธรรมไปใช้ในการดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง พบว่ามีปัจจัยหลาย ๆ ด้านประกอบกัน ได้แก่ วัยวุฒิ คุณวุฒิ สถานภาพความเป็นอยู่และสถานภาพทางเศรษฐกิจของผู้สูงอายุก่อเกิดความยึดมั่นถือมั่น ไม่ยอมรับความจริงของกาลเวลา สังขารและความรู้ด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่ ไม่ค่อยจะปล่อยวางกับชีวิตเกิดความกังวล ปัญหาด้านร่างกายและจิตใจ ปฏิบัติหน้าที่ของตนไม่เหมาะสมกับวัยของตนจนเกิดปัญหาต่อตนเอง ครอบครัวและชุมชน ตลอดถึงกลุ่มนักเรียนผู้สูงอายุด้วยกัน 3. แนวทางการนำหลักอธิษฐานธรรมสู่การดำเนินชีวิตผู้สูงอายุโรงเรียนผู้สูงอายุตำบลเวียง พบว่าการนำหลักภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่องค์ความรู้เพิ่มปัญญา ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุลดความยึดมั่นถือมั่นเข้าใจหลักความเป็นจริงของสัจจะธรรมทำตนให้เป็นที่น่านับถือ รู้จักปล่อยวางสร้างหลักประกันของตนให้มากที่สุดด้วยการเข้าวัดปฏิบัติธรรมมุ่งสู่วัยข่มใจ วัยวิเวก วัยเหงาตลอดถึงเข้าสู่วัยที่ห่างโรคซึมเศร้า โรคโดดเดี่ยวด้วยการยินดีนำหลักอธิษฐานธรรมประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
The objectives of this thesis were as follows 1) to study the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province 2) to study the factors affecting the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province 3) to seek ways to improve the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province. The target group consisted of 8 monks; 2 monks with diabetes, 2 monks with blood pressure, 2 monks with allergy and 2 monks with gastritis together with 2 modern physicians and 2 Thai traditional physicians by using specific selection method from temples and hospitals in Mae Rim district. Tools used for data collection was an in-depth interview and the data were analyzed in descriptive manner. The results of research were found that: 1. Regarding the health of monks in Mae Rim district, Chiang Mai province, it was found that monks were infected with other complications including diabetes, blood pressure, allergy and gastritis. Most monks had more than one disease, for example, when diabetes was detected, blood pressure, kidney disease, liver disease, allergy and gastritis would also be found with unclear causes. Some patients had no symptoms, but some had symptoms of colic, chronic abdominal pain, nausea, vomiting, a lot of acid in stomach, abdominal pain, chronic pain, colic and distension in stomach, indigestion, flatulence, stomach burning. Some had so severe stomach pain that they might get shocked from peptic ulcer or leaky gut. Patients with stomachache from gastritis should be diagnosed to find the cause of disease from the beginning as it might be very severe to cause shock and death to the patients. 2. Regarding the factors affecting the health of the monks, it was found that there were many factors including people, society, daily behavior, heredity, environment, complications from other diseases, stress and age. These things had a great impact on the health of monks. 3. Regarding guidelines for improving the health of monks, there should be food control, behavioral change in daily life, proper exercise, adequate rest, stress relaxation, meditation, consumption of recommended amount of medicine, application of Thai traditional medicine in health care in parallel with modern medicine in taking care of one’s own health according to the doctor's advice and regular visit to the doctor by appointment.